ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| image = United Nations Trusteeship Council chamber in New York City 2.JPG
| image = United Nations Trusteeship Council chamber in New York City 2.JPG
| caption = ห้องประชุมคณะมนตรีภาวะทรัสตีใน[[นครนิวยอร์ก]]
| caption = ห้องประชุมคณะมนตรีภาวะทรัสตีใน[[นครนิวยอร์ก]]
| type = องค์กรหลัก
| type = เสาหลัก
| acronyms =
| acronyms =
| head =
| head =
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
}}
}}


'''คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ''' ({{lang-en|United Nations Trusteeship Council}}) ประกอบด้วย[[ประเทศ]]สมาชิกที่ปกครองดินแดนในภาวะทรัสตี ประเทศที่เป็นสมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคง และประเทศอื่น ๆ เท่าที่จำเป็น เพื่อให้ได้สัดส่วนของประเทศที่ปกครอง และมิได้ปกครองภาวะทรัสตีจำนวนเท่า ๆ กัน มีหน้าที่พิจารณารายงานของประเทศที่ทำหน้าที่ปกครองดินแดน และจัดทำข้อเสนอแนะ เพื่อเร่งรัดการให้ดินแดนในภาวะทรัสตีเจริญก้าวหน้ารวดเร็ว สามารถปกครองตนเองหรือเป็นเอกราชได้
'''คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ''' ({{lang-en|United Nations Trusteeship Council}}) เป็นเสาหลักใน[[ระบบสหประชาชาติ]] ประกอบด้วย[[ประเทศ]]สมาชิกที่ปกครองดินแดนในภาวะทรัสตี ประเทศที่เป็นสมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคง และประเทศอื่น ๆ เท่าที่จำเป็น เพื่อให้ได้สัดส่วนของประเทศที่ปกครอง และมิได้ปกครองภาวะทรัสตีจำนวนเท่า ๆ กัน มีหน้าที่พิจารณารายงานของประเทศที่ทำหน้าที่ปกครองดินแดน และจัดทำข้อเสนอแนะ เพื่อเร่งรัดการให้ดินแดนในภาวะทรัสตีเจริญก้าวหน้ารวดเร็ว สามารถปกครองตนเองหรือเป็นเอกราชได้


{{องค์การสหประชาชาติ}}
{{องค์การสหประชาชาติ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:40, 3 เมษายน 2559

คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ
Conseil de tutelle des Nations unies
สถาปนาพ.ศ. 2488
ประเภทเสาหลัก
สถานะตามกฎหมายยุติตั้งแต่ พ.ศ. 2537
เว็บไซต์www.un.org/en/mainbodies/trusteeship

คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ (อังกฤษ: United Nations Trusteeship Council) เป็นเสาหลักในระบบสหประชาชาติ ประกอบด้วยประเทศสมาชิกที่ปกครองดินแดนในภาวะทรัสตี ประเทศที่เป็นสมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคง และประเทศอื่น ๆ เท่าที่จำเป็น เพื่อให้ได้สัดส่วนของประเทศที่ปกครอง และมิได้ปกครองภาวะทรัสตีจำนวนเท่า ๆ กัน มีหน้าที่พิจารณารายงานของประเทศที่ทำหน้าที่ปกครองดินแดน และจัดทำข้อเสนอแนะ เพื่อเร่งรัดการให้ดินแดนในภาวะทรัสตีเจริญก้าวหน้ารวดเร็ว สามารถปกครองตนเองหรือเป็นเอกราชได้