ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Modernkoro (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับแก้ +เนื้อหา
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
}}
}}


งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นเมื่อวันที่ [[16 พฤษภาคม]] ปี[[ค.ศ. 1929]] ที่โรงแรม Hollywood Roosevelt บัตรเข้าชมราคา 5$ มีผู้ร่วมงานไม่ถึง 250 คน งานจัดแค่ 15 นาที การมอบรางวัลในครั้งนี้จะมอบให้กับภาพยนตร์ที่เข้าฉายตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1927 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1928 โดยการประกาศรายผู้ที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้จะไม่เหมือนครั้งหลังๆ โดยจะประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลก่อนวันงานจริง 3 เดือน แล้วจึงมอบรางวัลในงานภายหลัง ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงทุกคนจะได้รับรางวัล Honorable Mention งานประกาศผลรางวัลออสการ์ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่ไม่มีการถ่ายทอดสู่สาธารณชน
'''งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1''' จัดขึ้นเมื่อวันที่ [[16 พฤษภาคม]] ปี[[ค.ศ. 1929]] ที่โรงแรม Hollywood Roosevelt บัตรเข้าชมราคา 5$ มีผู้ร่วมงานไม่ถึง 250 คน งานจัดแค่ 15 นาที การมอบรางวัลในครั้งนี้จะมอบให้กับภาพยนตร์ที่เข้าฉายตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1927 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1928 โดยการประกาศรายผู้ที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้จะไม่เหมือนครั้งหลังๆ โดยจะประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลก่อนวันงานจริง 3 เดือน แล้วจึงมอบรางวัลในงานภายหลัง ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงทุกคนจะได้รับรางวัล Honorable Mention งานประกาศผลรางวัลออสการ์ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่ไม่มีการถ่ายทอดสู่สาธารณชน


ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมมี 2 รางวัล คือ Production และ Artistic Quality of Production นอกจากนี้ยังมีการมอบรางวัลสำหรับ Title Writing เนื่องจากในสมัยนั้นภาพยนตร์ยังไม่มีเสียง ปีต่อๆมาภาพยนตร์มีเสียงแล้วจึงไม่มีการมอบรางวัลนี้อีก
ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมมี 2 รางวัล คือ Production และ Artistic Quality of Production นอกจากนี้ยังมีการมอบรางวัลสำหรับ Title Writing เนื่องจากในสมัยนั้นภาพยนตร์ยังไม่มีเสียง ปีต่อๆมาภาพยนตร์มีเสียงแล้วจึงไม่มีการมอบรางวัลนี้อีก

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:13, 5 ตุลาคม 2551

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1
วันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1929
สถานที่ โรงแรม Hollywood Roosevelt
ฮอลลีวูด แคลิฟอร์เนีย
พิธีกร Douglas Fairbanks
William C. DeMille
ภาพยนตร์ที่น่าสนใจ
ความยาว 15 นาที
  รางวัลออสการ์ ครั้งที่ 2 > 

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม ปีค.ศ. 1929 ที่โรงแรม Hollywood Roosevelt บัตรเข้าชมราคา 5$ มีผู้ร่วมงานไม่ถึง 250 คน งานจัดแค่ 15 นาที การมอบรางวัลในครั้งนี้จะมอบให้กับภาพยนตร์ที่เข้าฉายตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1927 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1928 โดยการประกาศรายผู้ที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้จะไม่เหมือนครั้งหลังๆ โดยจะประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลก่อนวันงานจริง 3 เดือน แล้วจึงมอบรางวัลในงานภายหลัง ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงทุกคนจะได้รับรางวัล Honorable Mention งานประกาศผลรางวัลออสการ์ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่ไม่มีการถ่ายทอดสู่สาธารณชน

ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมมี 2 รางวัล คือ Production และ Artistic Quality of Production นอกจากนี้ยังมีการมอบรางวัลสำหรับ Title Writing เนื่องจากในสมัยนั้นภาพยนตร์ยังไม่มีเสียง ปีต่อๆมาภาพยนตร์มีเสียงแล้วจึงไม่มีการมอบรางวัลนี้อีก

การมอบรางวัลในช่วงแรกๆนี้จะไม่เหมือนครั้งหลังๆ คือ จะดูที่หลายๆผลงานใน 1 ปีของบุคคลนั้นๆ เช่น Emil Jannings ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง The Way of All Flesh และ The Last Command เป็นต้น

รางวัล

Best Production/Picture

ได้รางวัล: Wings

เข้าชิง: The Racket, Seventh Heaven, The Way of All Flesh, The Last Command

Artistic Quality of Production

ได้รางวัล: Sunrise

เข้าชิง: Chang, The Crowd

Best Actor

ได้รางวัล: Emil Jannings จากภาพยนตร์เรื่อง The Way of All Flesh และ The Last Command

เข้าชิง: Richard Barthelmess จากภาพยนตร์เรื่อง The Noose และ The Patent Leather Kid

Best Actress

ได้รางวัล: Janet Gaynor จากภาพยนตร์เรื่อง Seventh Heaven, Street Angel, และ Sunrise

เข้าชิง: Louise Dresser จากภาพยนตร์เรื่อง A Ship Comes In กับ Gloria Swanson จากภาพยนตร์เรื่อง Sadie Thompson

Best Director of a Drama

ได้รางวัล: Frank Borzage จากภาพยนตร์เรื่อง Seventh Heaven

เข้าชิง: Herbert Brenon จากภาพยนตร์เรื่อง Sorrell and Son, King Vidor จากภาพยนตร์เรื่องr The Crowd

Best Director of a Comedy

ได้รางวัล: Lewis Milestone จากภาพยนตร์เรื่อง Two Arabian Knights

เข้าชิง: Ted Wilde จากภาพยนตร์เรื่อง Speedy กับ Charles Chaplin จากภาพยนตร์เรื่อง The Circus

Best Writing (original)

ได้รางวัล: Ben Hecht จากภาพยนตร์เรื่อง Underworld

เข้าชิง: Lajos Biró จากภาพยนตร์เรื่อง The Last Command

Best Writing (adaptation)

ได้รางวัล: Benjamin Glazer จากภาพยนตร์เรื่อง Seventh Heaven

เข้าชิง: Alfred Cohn จากภาพยนตร์เรื่อง The Jazz Singer, Anthony Coldeway จากภาพยนตร์เรื่อง Glorious Betsy

Best Cinematography

ได้รางวัล: Charles Rosher และ Karl Struss จากภาพยนตร์เรื่อง Sunrise

เข้าชิง: George Barnes จากภาพยนตร์เรื่อง The Devil Dancer, The Magic Flame, และ Sadie Thompson

Best Engineering Effects

ได้รางวัล: Roy Pomeroy จากภาพยนตร์เรื่อง Wings

เข้าชิง: Ralph Hammeras จากภาพยนตร์หลายๆเรื่อง และ Nugent Slaughter จากภาพยนตร์หลายๆเรื่อง

Art Direction

ได้รางวัล: William Cameron Menzies จากภาพยนตร์เรื่อง The Dove และ Tempest

เข้าชิง: Rochus Gliese จากภาพยนตร์เรื่อง Sunrise, Harry Oliver จากภาพยนตร์เรื่อง Seventh Heaven

Special Awards

Charles Chaplin ได้รับรางวัลเกียรติยศ จากภาพยนตร์เรื่อง The Circus

Warner Brothers ได้รับรางวัลเกียรติยศ จากภาพยนตร์เรื่อง The Jazz Singer