ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วาฬนาร์วาล"
Tanbiruzzaman (คุย | ส่วนร่วม) ล Reverted edits by 2001:FB1:79:DC7C:D4CC:17:9174:3BC (talk) to last version by Waniosa Amedestir: unexplained content removal ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว SWViewer [1.6] |
ล แทนที่ {lang-??} ด้วย {langx|??} |
||
บรรทัด 21: | บรรทัด 21: | ||
| range_map_upright = 0.7 |
| range_map_upright = 0.7 |
||
}} |
}} |
||
'''นาร์วาล''' ({{ |
'''นาร์วาล''' ({{langx|en|narwhal}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Monodon monoceros}}) เป็น[[วาฬมีฟัน]]ขนาดกลาง ซึ่งใช้ชีวิตตลอดทั้งปีที่บริเวณ[[อาร์กติก]] เป็นหนึ่งในสองของสปีชีส์[[วาฬ]][[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]][[โมโนดอนติแด]] เช่นเดียวกับ[[วาฬเบลูกา]] นาร์วาลเพศผู้มีลักษณะที่โดดเด่นคือ มีงาที่ยาว, ตรง, เป็นเกลียวที่ยื่นมาจากกรามบนด้านซ้ายของพวกมัน ซึ่งแท้ที่จริงแล้วคือ ฟันเพียงซี่เดียวของพวกมันที่อาจยาวได้ถึง 3 เมตร สำหรับตัวผู้บางตัวอาจมีได้ถึงสองซี่ ขณะที่ตัวเมียเองก็อาจมีได้เหมือนกันแต่ทว่าไม่ยาวและไม่โดดเด่นเท่า<ref>WILD จุดประกาย 7, ''นาวาล ตำนานยูนิคอร์น''. '''กรุงเทพธุรกิจ'''ปีที่ 29 ฉบับที่ 10409: วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2560</ref> ปัจจุบันยังไม่ทราบเป็นที่แน่ชัดว่ามีไว้สำหรับทำอะไร เพราะนาร์วาลไม่ได้ใช้งาตรงนี้ในการขุดเจาะหาอาหารหรือต่อสู้กันเอง แต่สันนิษฐานว่างาของมันน่าจะมีไว้เพื่อดึงดูดตัวเมีย{{อ้างอิง}} |
||
ในยุคกลางงาของนาร์วาลถูกขายในราคาที่สูงให้แก่เชื้อพระวงศ์ชั้นสูง และถูกมองว่าเป็นยูนิคอร์นแห่งท้องทะเล<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/tpbs/2014-06-18/18/|title=ท่องโลกกว้าง: สัตว์ทะเลสุดแปลก|date=18 June 2014|accessdate=18 June 2014|publisher=ไทยพีบีเอส|archive-date=2014-07-05|archive-url=https://web.archive.org/web/20140705050604/http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/tpbs/2014-06-18/18/|url-status=dead}}</ref> |
ในยุคกลางงาของนาร์วาลถูกขายในราคาที่สูงให้แก่เชื้อพระวงศ์ชั้นสูง และถูกมองว่าเป็นยูนิคอร์นแห่งท้องทะเล<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/tpbs/2014-06-18/18/|title=ท่องโลกกว้าง: สัตว์ทะเลสุดแปลก|date=18 June 2014|accessdate=18 June 2014|publisher=ไทยพีบีเอส|archive-date=2014-07-05|archive-url=https://web.archive.org/web/20140705050604/http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/tpbs/2014-06-18/18/|url-status=dead}}</ref> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 05:15, 18 พฤศจิกายน 2567
นาร์วาล[1] ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ยุคควอเทอร์นารี-ปัจจุบัน[2][3] | |
---|---|
เปรียบเทียบขนาดกับมนุษย์โดยเฉลี่ย | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต Eukaryota |
อาณาจักร: | สัตว์ Animalia |
ไฟลัม: | สัตว์มีแกนสันหลัง Chordata |
ชั้น: | สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม Mammalia |
อันดับ: | สัตว์กีบคู่ Artiodactyla |
อันดับฐาน: | วาฬและโลมา Cetacea |
วงศ์: | Monodontidae Monodontidae Linnaeus, 1758 |
สกุล: | Monodon Monodon Linnaeus, 1758 |
สปีชีส์: | Monodon monoceros |
ชื่อทวินาม | |
Monodon monoceros Linnaeus, 1758 | |
บริเวณที่พบประชากรนาร์วาลประจำ (สีเข้ม) หรือไม่ค่อยพบ (แถบ) |
นาร์วาล (อังกฤษ: narwhal; ชื่อวิทยาศาสตร์: Monodon monoceros) เป็นวาฬมีฟันขนาดกลาง ซึ่งใช้ชีวิตตลอดทั้งปีที่บริเวณอาร์กติก เป็นหนึ่งในสองของสปีชีส์วาฬวงศ์โมโนดอนติแด เช่นเดียวกับวาฬเบลูกา นาร์วาลเพศผู้มีลักษณะที่โดดเด่นคือ มีงาที่ยาว, ตรง, เป็นเกลียวที่ยื่นมาจากกรามบนด้านซ้ายของพวกมัน ซึ่งแท้ที่จริงแล้วคือ ฟันเพียงซี่เดียวของพวกมันที่อาจยาวได้ถึง 3 เมตร สำหรับตัวผู้บางตัวอาจมีได้ถึงสองซี่ ขณะที่ตัวเมียเองก็อาจมีได้เหมือนกันแต่ทว่าไม่ยาวและไม่โดดเด่นเท่า[6] ปัจจุบันยังไม่ทราบเป็นที่แน่ชัดว่ามีไว้สำหรับทำอะไร เพราะนาร์วาลไม่ได้ใช้งาตรงนี้ในการขุดเจาะหาอาหารหรือต่อสู้กันเอง แต่สันนิษฐานว่างาของมันน่าจะมีไว้เพื่อดึงดูดตัวเมีย[ต้องการอ้างอิง]
ในยุคกลางงาของนาร์วาลถูกขายในราคาที่สูงให้แก่เชื้อพระวงศ์ชั้นสูง และถูกมองว่าเป็นยูนิคอร์นแห่งท้องทะเล[7]
นาร์วาลส่วนใหญ่พบในบริเวณอาร์กติกของแคนาดาและเขตทะเลของกรีนแลนด์ หาได้ยากในบริเวณละติจูด 65°เหนือ นาร์วาลเป็นนักล่าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในเขตอาร์กติก มันกินเหยื่อบริเวณพื้นใต้น้ำเป็นอาหาร โดยเป็นปลาซีกเดียวเป็นส่วนใหญ่ ที่ระดับความลึกถึง 1,500 เมตรใต้ก้อนน้ำแข็งหนา[8] มีการล่านาร์วาลมากว่าหนึ่งพันปีโดยชาวอินูอิตในภาคเหนือของแคนาดาและกรีนแลนด์สำหรับเนื้อและงา รวมถึงล่าเพื่อการยังชีพแบบควบคุมยังคงดำเนินต่อไปจนถึงทุกวันนี้ ในขณะที่ประชากรต่างถือว่าพวกมันตกอยู่ในความเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีช่วงที่แคบและอดอาหาร[9]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Mead, J. G.; Brownell, R. L. Jr. (2005). "Order Cetacea". ใน Wilson, D. E.; Reeder, D. M. (บ.ก.). Mammal Species of the World: A Taxonomic and Geographic Reference (3rd ed.). Johns Hopkins University Press. pp. 723–743. ISBN 978-0-8018-8221-0. OCLC 62265494.
- ↑ "E. T. Newton. 1891. The vertebrata of the Pliocene deposits of Britain. Memoirs of the Geological Survey of the United Kingdom". Memoirs of the Geological Survey, Great Britain. 1891.
- ↑ "Monodon monoceros Linnaeus 1758 (narhwal)". PBDB.org.
- ↑ Lowry, L; Laidre, K; Reeves, R (2017). "Monodon monoceros". IUCN Red List of Threatened Species. 2017. doi:10.2305/IUCN.UK.2017-3.RLTS.T13704A50367651.en.
- ↑ "Appendices | CITES". cites.org. สืบค้นเมื่อ 2022-01-14.
- ↑ WILD จุดประกาย 7, นาวาล ตำนานยูนิคอร์น. กรุงเทพธุรกิจปีที่ 29 ฉบับที่ 10409: วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2560
- ↑ "ท่องโลกกว้าง: สัตว์ทะเลสุดแปลก". ไทยพีบีเอส. 18 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-05. สืบค้นเมื่อ 18 June 2014.
- ↑
K.L. Laidre , M.P. Heide-Jørgensen , O.A. Jørgensen , and M.A. Treble (2004). "Deep-ocean predation by a high Arctic cetacean". ICES J. Mar. Sci. 61 (1): 430–440. doi:10.1016/j.icesjms.2004.02.002.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ Laidre, K. L., I. Stirling, L. Lowry, Ø. Wiig, M. P. Heide-Jørgensen, and S. Ferguson (2008). "Quantifying the sensitivity of arctic marine mammals to climate-induced habitat change". Ecological Applications. 18 (2): S97–S125. doi:10.1890/06-0546.1. PMID 18494365.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Ford, John; Ford, Deborah (March 1986). "Narwhal: Unicorn of the Arctic Seas". National Geographic. Vol. 169 no. 3. pp. 354–363. ISSN 0027-9358. OCLC 643483454.
- M. P. Heide-Jorgensen. "Narwhal", in Encyclopedia of Marine Mammals, Perrin, Wursig and Thewissen eds. ISBN 0-12-551340-2
- Groc, Isabelle. "Hunt for the sea unicorn", New Scientist feature article, Issue 2956, 15 February 2014 [1]
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Flower, W.H. (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 19 (11 ed.). p. 243.
- Biology and ecology of narwhals, NOAA
- Narwhal Discoveries
- Voices in the Sea – Sounds of the Narwhal เก็บถาวร 9 กรกฎาคม 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน