ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไอร์แลนด์เหนือ"
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม) |
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม) |
||
บรรทัด 89: | บรรทัด 89: | ||
==== ฟุตบอล ==== |
==== ฟุตบอล ==== |
||
{{บทความหลัก|สมาคมฟุตบอลไอริช|ฟุตบอลทีมชาตินอร์เทิร์นไอร์แลนด์}} |
{{บทความหลัก|สมาคมฟุตบอลไอริช|ฟุตบอลทีมชาตินอร์เทิร์นไอร์แลนด์}} |
||
[[สมาคมฟุตบอลไอริช]] (IFA) เป็นหน่วยงานที่ดูแลฟุตบอลในไอร์แลนด์เหนือ เช่นเดียวกันกับ[[นอร์เทิร์นไอร์แลนด์ฟุตบอลลีก]]ที่ทำหน้าที่บริหารลีกในประเทศทั้งสามระดับและ[[นอร์เทิร์นไอร์แลนด์ฟุตบอลลีกคัพ|ฟุตบอลลีกคัพ]] |
|||
{{โครงส่วน}} |
|||
การแข่งขันระดับสูงสุดในไอร์แลนด์เหนือคือ[[เอ็นไอเอฟแอล พรีเมียร์ชิป]] และ[[เอ็นไอเอฟแอล แชมเปียนชิป]] อย่างไรก็ตาม ผู้เล่นจากไอร์แลนด์เหนือส่วนใหญ่จะลงเล่นให้กับสโมสรในอังกฤษและสกอตแลนด์ |
|||
สโมสรในเอ็นไอเอฟแอลเป็นสโมสรกึ่งอาชีพ และสโมสรใน[[เอ็นไอเอฟแอล พรีเมียร์ชิป]] มีสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขัน[[ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก]]และ[[ยูฟ่ายูโรปาลีก]] โดยที่แชมป์ลีกจะได้สิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันในรอบคัดเลือกรอบที่สองของ[[ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก]] ส่วนสโมสรที่จบอันดับที่ 2 ในลีก สโมสรที่ชนะเพลย์ออฟยุโรป และแชมป์[[ไอริชคัพ]] จะได้สิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันในรอบคัดเลือกรอบที่สองของ[[ยูฟ่ายูโรปาลีก]] ในประวัติศาสตร์ ไม่มีสโมสรใดเข้าถึงรอบแบ่งกลุ่มทั้งสองรายการ |
|||
แม้ว่าไอร์แลนด์เหนือจะมีประชากรน้อย แต่[[ฟุตบอลทีมชาตินอร์เทิร์นไอร์แลนด์|ทีมชาติ]]เคยผ่านรอบคัดเลือกไปเล่นในรอบสุดท้ายของ[[ฟุตบอลโลก]]ปี [[ฟุตบอลโลก 1958|1958]], [[ฟุตบอลโลก 1982|1982]] และ [[ฟุตบอลโลก 1986|1986]] โดยเคยเข้าถึงรอบก่อนรองชนะเลิศในปี 1958 และ 1982 นอกจากนี้ ยังเคยผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออกใน[[ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016]] |
|||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:01, 20 พฤษภาคม 2563
เมืองหลวง และเมืองใหญ่สุด | เบลฟาสต์ |
---|---|
ภาษาราชการ | ภาษาอังกฤษ โดยพฤตินัย (ตามที่ใช้กัน) ภาษาไอริช และภาษาสกอตแบบอัลสเตอร์ |
การปกครอง | ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ |
สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 | |
ว่าง | |
รัฐบาลสหราชอาณาจักร | |
บอริส จอห์นสัน | |
• รัฐมนตรี | James Brokenshire |
สถาปนาเป็น | |
พื้นที่ | |
• รวม | 13,843 ตารางกิโลเมตร (5,345 ตารางไมล์) (-) |
ประชากร | |
• 2547 ประมาณ | 1,710,300 คน (n/a) |
• สำมะโนประชากร 2544 | 1,685,267 คน |
122 ต่อตารางกิโลเมตร (316.0 ต่อตารางไมล์) (n/a) | |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | 2549 (ประมาณ) |
• รวม | 33.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (n/a) |
• ต่อหัว | 19,603 ดอลลาร์สหรัฐ (n/a) |
สกุลเงิน | ปอนด์สเตอร์ลิง (£) (GBP) |
เขตเวลา | UTC+0 (GMT) |
รหัสโทรศัพท์ | 44 |
โดเมนบนสุด | .uk |
ไอร์แลนด์เหนือ (อังกฤษ: Northern Ireland; ไอริช: Tuaisceart Éireann [ˈt̪ˠuəʃcəɾˠt̪ˠ ˈeːɾʲən̪ˠ] ทวฌเชอรท์ เอรัน) คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน[1]
การแบ่งเขตการปกครอง
ระหว่างปี ค.ศ. 1921 ถึง ค.ศ. 1972 ไอร์แลนด์เหนือแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 เทศมณฑล (counties) ได้แก่
- เทศมณฑลแอนทริม (County Antrim)
- เทศมณฑลอาร์มา (County Armagh)
- เทศมณฑลดาวน์ (County Down)
- เทศมณฑลเฟอร์แมนา (County Fermanagh)
- เทศมณฑลลันดันเดร์รี (County Londonderry)
- เทศมณฑลทิโรน (County Tyrone)
แต่ในปัจจุบัน การแบ่งเขตการปกครองแบบเทศมณฑลไม่มีอำนาจในทางปกครองแล้ว เนื่องจากมีการแทนที่ด้วย เขต (district) ซึ่งมีทั้งหมด 26 เขต
ประชากรศาสตร์
ประชากร
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภาษา
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ศาสนา
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กีฬา
ฟุตบอล
สมาคมฟุตบอลไอริช (IFA) เป็นหน่วยงานที่ดูแลฟุตบอลในไอร์แลนด์เหนือ เช่นเดียวกันกับนอร์เทิร์นไอร์แลนด์ฟุตบอลลีกที่ทำหน้าที่บริหารลีกในประเทศทั้งสามระดับและฟุตบอลลีกคัพ
การแข่งขันระดับสูงสุดในไอร์แลนด์เหนือคือเอ็นไอเอฟแอล พรีเมียร์ชิป และเอ็นไอเอฟแอล แชมเปียนชิป อย่างไรก็ตาม ผู้เล่นจากไอร์แลนด์เหนือส่วนใหญ่จะลงเล่นให้กับสโมสรในอังกฤษและสกอตแลนด์
สโมสรในเอ็นไอเอฟแอลเป็นสโมสรกึ่งอาชีพ และสโมสรในเอ็นไอเอฟแอล พรีเมียร์ชิป มีสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกและยูฟ่ายูโรปาลีก โดยที่แชมป์ลีกจะได้สิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันในรอบคัดเลือกรอบที่สองของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ส่วนสโมสรที่จบอันดับที่ 2 ในลีก สโมสรที่ชนะเพลย์ออฟยุโรป และแชมป์ไอริชคัพ จะได้สิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันในรอบคัดเลือกรอบที่สองของยูฟ่ายูโรปาลีก ในประวัติศาสตร์ ไม่มีสโมสรใดเข้าถึงรอบแบ่งกลุ่มทั้งสองรายการ
แม้ว่าไอร์แลนด์เหนือจะมีประชากรน้อย แต่ทีมชาติเคยผ่านรอบคัดเลือกไปเล่นในรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกปี 1958, 1982 และ 1986 โดยเคยเข้าถึงรอบก่อนรองชนะเลิศในปี 1958 และ 1982 นอกจากนี้ ยังเคยผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออกในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016
อ้างอิง
- ↑ "Belfast - Your council". belfastcity.gov.uk. 2015. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2015.