ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศรีธนญชัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MayThe2nd (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 11822118 สร้างโดย 2001:44C8:460B:A0B8:1:0:5D3D:E67F (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.5
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ศรีธนญชัย''' เป็นนิทานพื้นบ้านที่รู้จักกันแพร่หลายของ[[ประเทศไทย|ไทย]] มีตัวเอกของเรื่องคือศรีธนญชัยที่มีภาพลักษณ์เจ้าปัญญา ฉลาดแกมโกง และเป็นตัวตลก<ref>{{cite web |author1=อัญมาศ ภู่เพชร |title=นิทานเรื่องศรีธนญชัยในสื่อสิ่งพิมพ์ไทยร่วมสมัย |url=http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/60009/1/5780193622.pdf |publisher=จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์}}</ref>
'''ศรีธนญชัย''' เป็นนิทานพื้นบ้านที่รู้จักกันแพร่หลายของ[[ประเทศไทย|ไทย]] มีตัวเอกของเรื่องคือศรีธนญชัยที่มีภาพลักษณ์เจ้าปัญญา ฉลาดแกมโกง และเป็นตัวตลก<ref>{{cite web |author1=อัญมาศ ภู่เพชร |title=นิทานเรื่องศรีธนญชัยในสื่อสิ่งพิมพ์ไทยร่วมสมัย |url=http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/60009/1/5780193622.pdf |publisher=จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์}}</ref>


วรรณกรรมเรื่องศรีธนญชัยมีลักษณะเป็นมุขปาฐะหรือเรื่องเล่าของชาวบ้าน ไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับต้นกำเนิด สมัยที่แต่งและผู้แต่ง ต่อมาแพร่หลายในราชสำนักของกรุงเทพฯ ปรากฏในประเทศไทยมากมายหลายสำนวน ทั้งแต่งเป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง จากการศึกษาของกัญญรัตน์ เวชชศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2521 ปรากฏว่ามีไม่น้อยกว่า 24 สำนวน ในทุกภาคของประเทศไทย ฉบับที่ตีพิมพ์เผยแพร่ซึ่งพระปฏิเวทวิศิษฐ์ (สาย เลขยานนท์) มอบให้แก่[[หอสมุดแห่งชาติ]] เป็นฉบับที่มีเนื้อหาสมบูรณ์ที่สุด เนื่องจากมีเหตุการณ์ตั้งแต่กำเนิดศรีธนญชัยและเหตุการณ์ต่าง ๆ ครบถ้วน จนถึงจุดจบของศรีธนญชัย ฉบับตีพิมพ์ครั้งแรกที่โรงพิมพ์หมอสมิธ<ref>{{cite web |url=http://valuablebook2.tkpark.or.th/2015/11/document6.html|title=โรงพิมพ์อักษรนิติ}}สำนักงานอุทยานการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)</ref> (น่าจะพิมพ์ระหว่าง พ.ศ. 2411–2453)
วรรณกรรมเรื่องศรีธนญชัยมีลักษณะเป็นมุขปาฐะหรือเรื่องเล่าของชาวบ้าน ไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับต้นกำเนิด สมัยที่แต่งและผู้แต่ง ต่อมาแพร่หลายในราชสำนักของกรุงเทพฯ ปรากฏในประเทศไทยมากมายหลายสำนวน ทั้งแต่งเป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง จากการศึกษาของกัญญรัตน์ เวชชศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2521 ปรากฏว่ามีไม่น้อยกว่า 24 สำนวน ในทุกภาคของประเทศไทย ฉบับที่ตีพิมพ์เผยแพร่ซึ่งพระปฏิเวทวิศิษฐ์ (สาย เลขยานนท์) มอบให้แก่[[หอสมุดแห่งชาติ]] เป็นฉบับที่มีเนื้อหาสมบูรณ์ที่สุด เนื่องจากมีเหตุการณ์ตั้งแต่กำเนิดศรีธนญชัยและเหตุการณ์ต่าง ๆ ครบถ้วน จนถึงจุดจบของศรีธนญชัย ฉบับตีพิมพ์ครั้งแรกที่โรงพิมพ์หมอสมิธ<ref>{{cite web|url=http://valuablebook2.tkpark.or.th/2015/11/document6.html|title=โรงพิมพ์อักษรนิติ|access-date=2024-09-22|archive-date=2020-07-16|archive-url=https://web.archive.org/web/20200716034920/http://valuablebook2.tkpark.or.th/2015/11/document6.html|url-status=dead}}สำนักงานอุทยานการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)</ref> (น่าจะพิมพ์ระหว่าง พ.ศ. 2411–2453)


อย่างไรก็ดีหากวิเคราะห์จากเนื้อหาของเรื่องที่มีการกล่าวถึงความสัมพันธ์กับต่างประเทศโดยเฉพาะโปรตุเกส ฮอลันดา และฝรั่งเศส ก็มีความเป็นไปได้ว่าเรื่องศรีธนญชัยแต่งขึ้นหลังรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] อันเป็นสมัยที่ชาวฝรั่งเศสเดินทางเข้ามากรุงศรีอยุธยาครั้งแรก<ref>{{cite web |author1=สันธิกร วรวรรณ |title=นัยทางการเมืองในวรรณกรรมเรื่อง "ศรีธนญชัย" |url=http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/5355/1/santikorn.pdf |publisher=จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย}}</ref>
อย่างไรก็ดีหากวิเคราะห์จากเนื้อหาของเรื่องที่มีการกล่าวถึงความสัมพันธ์กับต่างประเทศโดยเฉพาะโปรตุเกส ฮอลันดา และฝรั่งเศส ก็มีความเป็นไปได้ว่าเรื่องศรีธนญชัยแต่งขึ้นหลังรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] อันเป็นสมัยที่ชาวฝรั่งเศสเดินทางเข้ามากรุงศรีอยุธยาครั้งแรก<ref>{{cite web |author1=สันธิกร วรวรรณ |title=นัยทางการเมืองในวรรณกรรมเรื่อง "ศรีธนญชัย" |url=http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/5355/1/santikorn.pdf |publisher=จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย}}</ref>

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 05:36, 1 ธันวาคม 2567

ศรีธนญชัย เป็นนิทานพื้นบ้านที่รู้จักกันแพร่หลายของไทย มีตัวเอกของเรื่องคือศรีธนญชัยที่มีภาพลักษณ์เจ้าปัญญา ฉลาดแกมโกง และเป็นตัวตลก[1]

วรรณกรรมเรื่องศรีธนญชัยมีลักษณะเป็นมุขปาฐะหรือเรื่องเล่าของชาวบ้าน ไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับต้นกำเนิด สมัยที่แต่งและผู้แต่ง ต่อมาแพร่หลายในราชสำนักของกรุงเทพฯ ปรากฏในประเทศไทยมากมายหลายสำนวน ทั้งแต่งเป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง จากการศึกษาของกัญญรัตน์ เวชชศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2521 ปรากฏว่ามีไม่น้อยกว่า 24 สำนวน ในทุกภาคของประเทศไทย ฉบับที่ตีพิมพ์เผยแพร่ซึ่งพระปฏิเวทวิศิษฐ์ (สาย เลขยานนท์) มอบให้แก่หอสมุดแห่งชาติ เป็นฉบับที่มีเนื้อหาสมบูรณ์ที่สุด เนื่องจากมีเหตุการณ์ตั้งแต่กำเนิดศรีธนญชัยและเหตุการณ์ต่าง ๆ ครบถ้วน จนถึงจุดจบของศรีธนญชัย ฉบับตีพิมพ์ครั้งแรกที่โรงพิมพ์หมอสมิธ[2] (น่าจะพิมพ์ระหว่าง พ.ศ. 2411–2453)

อย่างไรก็ดีหากวิเคราะห์จากเนื้อหาของเรื่องที่มีการกล่าวถึงความสัมพันธ์กับต่างประเทศโดยเฉพาะโปรตุเกส ฮอลันดา และฝรั่งเศส ก็มีความเป็นไปได้ว่าเรื่องศรีธนญชัยแต่งขึ้นหลังรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อันเป็นสมัยที่ชาวฝรั่งเศสเดินทางเข้ามากรุงศรีอยุธยาครั้งแรก[3]

นอกจากนั้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังมีนิทานพื้นบ้านเนื้อเรื่องแบบเดียวกัน อย่างในกัมพูชาและเวียดนามใช้ชื่อว่า ธนัญชัย หรือ เธฺมยชย ในลาวเรียกว่า เชียงเมี่ยง ในอินโดนีเซีย มาเลเซียและสิงคโปร์ เรียกว่า อาบูนาวัซ (Abu Nawas) ในฟิลิปปินส์เรียกว่า ฮวน ปูซอง (Juan Pusong)[4] และในกลุ่มชาวกะเหรี่ยงเรียกว่า จ้อเกอะโด่[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. อัญมาศ ภู่เพชร. "นิทานเรื่องศรีธนญชัยในสื่อสิ่งพิมพ์ไทยร่วมสมัย" (PDF). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์.
  2. "โรงพิมพ์อักษรนิติ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-16. สืบค้นเมื่อ 2024-09-22.สำนักงานอุทยานการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)
  3. สันธิกร วรวรรณ. "นัยทางการเมืองในวรรณกรรมเรื่อง "ศรีธนญชัย"" (PDF). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย.
  4. กัญญรัตน์ เวชชศาสตร์. "การศึกษาเปรียบเทียบเรื่องศรีธนญชัยฉบับต่างๆ ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้" (PDF). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย.
  5. หญ้าน้ำ ทุ่งขุนหลวง (31 มีนาคม 2564). "แลมรดกโลก : เรื่องเล่า "ศรีธนญชัย" ฉบับกะเหรี่ยง ที่มีชื่อว่า "จ้อ เกอะ โด่"". ศิลปวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 19 ตุลาคม 2565. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)