ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wutthiphong (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมข้อมูล มีคนสงสัยว่าเหตุใดลักษณะกราฟถึงเป็นแบบนั้น
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{แก้ภาษา}}
{{แก้ภาษา}}
{{กลศาสตร์ดั้งเดิม}}
{{กลศาสตร์ดั้งเดิม}}
[[File:ParabolicWaterTrajectory.jpg|thumb|250px|วิถีการเคลื่อนที่ของน้ำแบบพาราโบลา]]
[[ไฟล์:ParabolicWaterTrajectory.jpg|thumb|250px|วิถีการเคลื่อนที่ของน้ำแบบพาราโบลา]]
[[File:Ferde hajitas2.svg|thumb|250px|ส่วนประกอบของความเร็วต้นของการโยนแบบพาราโบลา]]
[[ไฟล์:Ferde hajitas2.svg|thumb|250px|ส่วนประกอบของความเร็วต้นของการโยนแบบพาราโบลา]]


== '''การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์''' ==
'''การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์''' ({{lang-en|Projectile motion}})
[[Image:Mplwp ballistic trajectories velocities.svg|right|thumb|320px|วิถีของโพรเจกไทล์ที่ลอยขึ้นไปในอากาศในความเร็วต้นที่แตกต่างกัน]]<br />
[[ไฟล์:Mplwp ballistic trajectories velocities.svg|right|thumb|320px|วิถีของโพรเจกไทล์ที่ลอยขึ้นไปในอากาศในความเร็วต้นที่แตกต่างกัน(พิจารณาแรงต้านอากาศ)]]
==ความเร็วเริ่มต้น==
==ความเร็วเริ่มต้น==
เมื่อปล่อยให้โปรเจกไทล์เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเริ่มต้น <math> \mathbf{v} (0) \equiv \mathbf{v}_0 </math> ซึ่งสามารถแยกเป็นองค์ประกอบของเวกเตอร์ความเร็วได้ดังต่อไปนี้
เมื่อปล่อยให้โปรเจกไทล์เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเริ่มต้น <math> \mathbf{v} (0) \equiv \mathbf{v}_0 </math> ซึ่งสามารถแยกเป็นองค์ประกอบของเวกเตอร์ความเร็วได้ดังต่อไปนี้
บรรทัด 13: บรรทัด 14:
:<math> v_{0y} = v_0\sin\theta </math>
:<math> v_{0y} = v_0\sin\theta </math>


<br />
==ปริมาณจลนพลศาสตร์ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์==
==ปริมาณจลนพลศาสตร์ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์==
ในปี ค.ศ. 1638 [[กาลิเลโอ กาลิเลอี|กาลิเลโอ]] กล่าวในหนังสือ [[:en:Two New Sciences|Two New Sciences]] ว่าสำหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์นั้น การเคลื่อนที่ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบจะเป็นอิสระต่อกัน<ref>Galileo Galilei, ''[[:en:Two New Sciences|Two New Sciences]] ', Leiden, 1638, p.249</ref>
ในปี ค.ศ. 1638 [[กาลิเลโอ กาลิเลอี|กาลิเลโอ]] กล่าวในหนังสือ [[:en:Two New Sciences|Two New Sciences]] ว่าสำหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์นั้น การเคลื่อนที่ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบจะเป็นอิสระต่อกัน<ref>Galileo Galilei, ''[[:en:Two New Sciences|Two New Sciences]] ', Leiden, 1638, p.249</ref>

<br />
===ความเร่ง===
===ความเร่ง===
สำหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะเกิดความเร่งเฉพาะการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเท่านั้น ส่วนแนวราบความเร็วจะคงตัวมีค่าเท่ากับ <math> \mathbf{v}_0 \cos\theta </math> การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งของวัตถุจะเะป็นการเคลื่อนที่แบบตกอิสระ โดยมีความเร่งคงตัว <math>g</math><ref>The <math>g</math> คือ [[ความเร่งโน้มถ่วง]]. (<math> 9.81 m/s^2 </math> ที่ผิวโลก).</ref> องค์ประกอบของความเร่งคือ
สำหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะเกิดความเร่งเฉพาะการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเท่านั้น ส่วนแนวราบความเร็วจะคงตัวมีค่าเท่ากับ <math> \mathbf{v}_0 \cos\theta </math> การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งของวัตถุจะเป็นการเคลื่อนที่แบบตกอิสระ โดยมีความเร่งคงตัว <math>g</math><ref>The <math>g</math> คือ [[ความเร่งโน้มถ่วง]]. (<math> 9.81 m/s^2 </math> ที่ผิวโลก).</ref> องค์ประกอบของความเร่งคือ


:<math> a_x = 0 </math> และ
:<math> a_x = 0 </math> และ
:<math> a_y =- g </math>
:<math> a_y =- g </math>


<br />
===ความเร็ว===
===ความเร็ว===
องค์ประกอบของ[[ความเร็ว]]ในแนวราบของวัตถุจะไม่เปลี่ยนแปลงตลอดการเคลื่อนที่ และองค์ประกอบของความเร็วในแนวตั้งจะเพิ่มขึ้นแบบเชิงเส้นเพราะมีความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงที่มีค่าคงที่ องค์ประกอบของความเร็วทั้งในทิศทาง <var>x</var> และ <var>y</var> สามารถรวมกันเพื่อแก้ปัญหาองค์ประกอบของความเร็ว ณ เวลา <math>t</math> ได้ดังนี้
องค์ประกอบของ[[ความเร็ว]]ในแนวราบของวัตถุจะไม่เปลี่ยนแปลงตลอดการเคลื่อนที่ และองค์ประกอบของความเร็วในแนวตั้งจะเพิ่มขึ้นแบบเชิงเส้นเพราะมีความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงที่มีค่าคงที่ องค์ประกอบของความเร็วทั้งในทิศทาง <var>x</var> และ <var>y</var> สามารถรวมกันเพื่อแก้ปัญหาองค์ประกอบของความเร็ว ณ เวลา <math>t</math> ได้ดังนี้
บรรทัด 32: บรรทัด 29:
:<math> v = \sqrt{v_x^2 + v_y^2 \ } </math>
:<math> v = \sqrt{v_x^2 + v_y^2 \ } </math>


<br />
===การกระจัด===
===การกระจัด===
[[File:Ferde hajitas3.svg|thumb|250px|การกระจัดและพิกัดของการโยนแบบพาราโพลา]]
[[ไฟล์:Ferde hajitas3.svg|thumb|250px|การกระจัดและพิกัดของการโยนแบบพาราโพลา]]
ณ เวลา <math> t </math> ใด ๆ [[การกระจัด]]ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ในแนวราบและแนวดิ่งคือ
ณ เวลา <math> t </math> ใด ๆ [[การกระจัด]]ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ในแนวราบและแนวดิ่งคือ
:<math> x = v_0 t \cos(\theta) </math> และ
:<math> x = v_0 t \cos(\theta) </math> และ
บรรทัด 49: บรรทัด 45:
ซึ่ง <math>a</math> และ <math> b </math> เป็นค่าคงที่ สมการนี้เป็นสมการ[[พาราโบลา]] ดังนั้นเส้นทางการเคลื่อนที่ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จึงเป็นรูปพาราโบลา ถ้าทราบตำแหน่ง (x,y) ของโพรเจกไทล์ และมุมยิง (<math>\theta </math> หรือ <math> r </math>) ความเร็วเริ่มตั้น <math>v_0</math> สามารถหาได้จากการแก้สมการพาราโบลาข้างต้น ได้เป็น
ซึ่ง <math>a</math> และ <math> b </math> เป็นค่าคงที่ สมการนี้เป็นสมการ[[พาราโบลา]] ดังนั้นเส้นทางการเคลื่อนที่ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จึงเป็นรูปพาราโบลา ถ้าทราบตำแหน่ง (x,y) ของโพรเจกไทล์ และมุมยิง (<math>\theta </math> หรือ <math> r </math>) ความเร็วเริ่มตั้น <math>v_0</math> สามารถหาได้จากการแก้สมการพาราโบลาข้างต้น ได้เป็น
:<math> v_0 = \sqrt{{x^2 g} \over {x \sin 2\theta - 2y \cos^2\theta}} </math>
:<math> v_0 = \sqrt{{x^2 g} \over {x \sin 2\theta - 2y \cos^2\theta}} </math>



==เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่==
==เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่==
บรรทัด 68: บรรทัด 63:
ถ้า <math> \theta</math> = 0 และ <math> y_0</math> = 0
ถ้า <math> \theta</math> = 0 และ <math> y_0</math> = 0


<br />
==ระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่==
==ระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่==
[[File:Ferde hajitas4.svg|thumb|250px|ความสูงที่สูงที่สุดของโพรเจกไทล์]]
[[ไฟล์:Ferde hajitas4.svg|thumb|250px|ความสูงที่สูงที่สุดของโพรเจกไทล์]]
จุดที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปได้เป็นระยะสูงที่สุดก่อนที่จะตกกลับลงมา เรียกว่า จุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ จุดนี้ องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่ง <math> v_y=0 </math> นั้นคือ
จุดที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปได้เป็นระยะสูงที่สุดก่อนที่จะตกกลับลงมา เรียกว่า จุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ จุดนี้ องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่ง <math> v_y=0 </math> นั้นคือ
:<math> 0=v_0 \sin(\theta) - gt_h </math>
:<math> 0=v_0 \sin(\theta) - gt_h </math>
บรรทัด 78: บรรทัด 72:
:<math> h = v_0 t_h \sin(\theta) - \frac{1}{2} gt^2_h </math>
:<math> h = v_0 t_h \sin(\theta) - \frac{1}{2} gt^2_h </math>
:<math> h = \frac{v_0^2 \sin^2(\theta)}{2g} </math>
:<math> h = \frac{v_0^2 \sin^2(\theta)}{2g} </math>

<br />
==ความสัมพันธ์ระหว่างระยะไกลสุดกับระยะสูงสุด==
==ความสัมพันธ์ระหว่างระยะไกลสุดกับระยะสูงสุด==
ความสัมพันธืระหว่างระยะไกลสุดบนแนวราบ <math>R</math> กับระยะสูงสุด <math>h</math> ที่ <math> \frac{t_d}{2} </math> เป็น
ความสัมพันธืระหว่างระยะไกลสุดบนแนวราบ <math>R</math> กับระยะสูงสุด <math>h</math> ที่ <math> \frac{t_d}{2} </math> เป็น
บรรทัด 92: บรรทัด 84:
<math> h = \frac{R\tan\theta}{4} </math>.
<math> h = \frac{R\tan\theta}{4} </math>.


<br />
==พิสัยของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์==
==พิสัยของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์==
[[File:Ferde hajitas5.svg|thumb|250px|ระยะทางที่ไกลที่สูงของโพรเจกไทล์]]
{{บทความหลัก2|พิสัยของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์}}
[[ไฟล์:Ferde hajitas5.svg|thumb|250px|ระยะทางที่ไกลที่สูงของโพรเจกไทล์]]
ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มวลของวัตถุจะไม่ส่งผลต่อระยะไกลสุดตามแนวราบและระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่ เมื่อขว้างวัตถุออกไปด้วยความเร็วและทิศทางเดียวกัน ระยะไกลสุดตามแนวราบของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เรียกว่า"'''พิสัย'''" <math>d</math> คือ ระยะทางตามแนวราบจากจุดที่ขว้างวัตถุออกไปจนถึงจุดที่วัตถุตกกลับลงมาที่ตำแหน่งความสูงเริ่มต้น <math>(y=0)</math>
ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มวลของวัตถุจะไม่ส่งผลต่อระยะไกลสุดตามแนวราบและระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่ เมื่อขว้างวัตถุออกไปด้วยความเร็วและทิศทางเดียวกัน ระยะไกลสุดตามแนวราบของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เรียกว่า"'''พิสัย'''" <math>d</math> คือ ระยะทางตามแนวราบจากจุดที่ขว้างวัตถุออกไปจนถึงจุดที่วัตถุตกกลับลงมาที่ตำแหน่งความสูงเริ่มต้น <math>(y=0)</math>
:<math> 0 = v_0 t_d \sin(\theta) - \frac{1}{2}gt_d^2 </math>
:<math> 0 = v_0 t_d \sin(\theta) - \frac{1}{2}gt_d^2 </math>
บรรทัด 116: บรรทัด 108:
หรือ
หรือ
:<math> \theta=45^\circ </math>
:<math> \theta=45^\circ </math>
[[Image:Ideal projectile motion for different angles.svg|thumb|350px|Trajectories of projectiles launched at different elevation angles but the same speed of 10 m/s in a vacuum and uniform downward gravity field of 10 m/s<sup>2</sup>. Points are at 0.05 s intervals and length of their tails is linearly proportional to their speed. ''t'' = time from launch, ''T'' = time of flight, ''R'' = range and ''H'' = highest point of trajectory (indicated with arrows).]]
[[ไฟล์:Ideal projectile motion for different angles.svg|thumb|350px|Trajectories of projectiles launched at different elevation angles but the same speed of 10 m/s in a vacuum and uniform downward gravity field of 10 m/s<sup>2</sup>. Points are at 0.05 s intervals and length of their tails is linearly proportional to their speed. ''t'' = time from launch, ''T'' = time of flight, ''R'' = range and ''H'' = highest point of trajectory (indicated with arrows).]]


ระยะทางในแนวราบ <math>d</math> ที่เคลื่อนที่ได้
ระยะทางในแนวราบ <math>d</math> ที่เคลื่อนที่ได้
บรรทัด 127: บรรทัด 119:
: <math> d = \frac{v^2}{g} </math>
: <math> d = \frac{v^2}{g} </math>


<br />
==การประยุกต์ใช้ทฤษฎีบทงานและพลังงาน==
==การประยุกต์ใช้ทฤษฎีบทงานและพลังงาน==
ตามทฤษฎี[[งาน (ฟิสิกส์)|งานและพลังงาน]] องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่งคือ
ตามทฤษฎี[[งาน (ฟิสิกส์)|งานและพลังงาน]] องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่งคือ
บรรทัด 134: บรรทัด 125:
สมการเหล่านี้จะไม่พิจารณาแรงต้านของอากาศ และถือว่าพื้นเป็นพื้นราบเรียบ
สมการเหล่านี้จะไม่พิจารณาแรงต้านของอากาศ และถือว่าพื้นเป็นพื้นราบเรียบ


<br />
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:45, 21 สิงหาคม 2564

วิถีการเคลื่อนที่ของน้ำแบบพาราโบลา
ส่วนประกอบของความเร็วต้นของการโยนแบบพาราโบลา

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (อังกฤษ: Projectile motion)

วิถีของโพรเจกไทล์ที่ลอยขึ้นไปในอากาศในความเร็วต้นที่แตกต่างกัน(พิจารณาแรงต้านอากาศ)

ความเร็วเริ่มต้น

[แก้]

เมื่อปล่อยให้โปรเจกไทล์เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเริ่มต้น ซึ่งสามารถแยกเป็นองค์ประกอบของเวกเตอร์ความเร็วได้ดังต่อไปนี้

องค์ประกอบ และ สามารถหาได้เมื่อทราบมุมเริ่มต้น ดังนี้

และ

ปริมาณจลนพลศาสตร์ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

[แก้]

ในปี ค.ศ. 1638 กาลิเลโอ กล่าวในหนังสือ Two New Sciences ว่าสำหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์นั้น การเคลื่อนที่ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบจะเป็นอิสระต่อกัน[1]

ความเร่ง

[แก้]

สำหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะเกิดความเร่งเฉพาะการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเท่านั้น ส่วนแนวราบความเร็วจะคงตัวมีค่าเท่ากับ การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งของวัตถุจะเป็นการเคลื่อนที่แบบตกอิสระ โดยมีความเร่งคงตัว [2] องค์ประกอบของความเร่งคือ

และ

ความเร็ว

[แก้]

องค์ประกอบของความเร็วในแนวราบของวัตถุจะไม่เปลี่ยนแปลงตลอดการเคลื่อนที่ และองค์ประกอบของความเร็วในแนวตั้งจะเพิ่มขึ้นแบบเชิงเส้นเพราะมีความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงที่มีค่าคงที่ องค์ประกอบของความเร็วทั้งในทิศทาง x และ y สามารถรวมกันเพื่อแก้ปัญหาองค์ประกอบของความเร็ว ณ เวลา ได้ดังนี้

และ

ขนาดของความเร็ว (ภายใต้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส)

การกระจัด

[แก้]
การกระจัดและพิกัดของการโยนแบบพาราโพลา

ณ เวลา ใด ๆ การกระจัดของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ในแนวราบและแนวดิ่งคือ

และ

ขนาดของการกระจัดคือ

พิจารณาสมการ

และ

ถ้า ถูกกำจัดออกระหว่างทั้งสองสมการ จะได้

เมื่อ และ เป็นค่าคงที่ สมการข้างต้นจะอยู่ในรูป

ซึ่ง และ เป็นค่าคงที่ สมการนี้เป็นสมการพาราโบลา ดังนั้นเส้นทางการเคลื่อนที่ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จึงเป็นรูปพาราโบลา ถ้าทราบตำแหน่ง (x,y) ของโพรเจกไทล์ และมุมยิง ( หรือ ) ความเร็วเริ่มตั้น สามารถหาได้จากการแก้สมการพาราโบลาข้างต้น ได้เป็น

เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่

[แก้]

เวลาทั้งหมดที่วัตถุลอยอยู่ในอากาศหาได้จากสมการ

หลังจากที่วัตถุถูกยิงออกไปและตกกลับลงมาบนพื้นอีกครั้ง (แกน x) ดังนั้น

ในที่นี้จะไม่สนใจแรงต้านของอากาศที่กระทำต่อวัตถุ

ถ้าจุดเริ่มต้นอยู่ที่ตำแหน่ง เมื่อเทียบกับจุดตก เวลาที่วัตถุลอยอยู่ในอากาศ คือ

สมการข้างต้นสามารถลดรูปเป็น

ถ้า = 0 และ = 0

ระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่

[แก้]
ความสูงที่สูงที่สุดของโพรเจกไทล์

จุดที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปได้เป็นระยะสูงที่สุดก่อนที่จะตกกลับลงมา เรียกว่า จุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ จุดนี้ องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่ง นั้นคือ

เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด

จากการกระจัดที่สูงที่สุดของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

ความสัมพันธ์ระหว่างระยะไกลสุดกับระยะสูงสุด

[แก้]

ความสัมพันธืระหว่างระยะไกลสุดบนแนวราบ กับระยะสูงสุด ที่ เป็น

พิสูจน์

[แก้]

×

.

พิสัยของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

[แก้]
ระยะทางที่ไกลที่สูงของโพรเจกไทล์

ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มวลของวัตถุจะไม่ส่งผลต่อระยะไกลสุดตามแนวราบและระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่ เมื่อขว้างวัตถุออกไปด้วยความเร็วและทิศทางเดียวกัน ระยะไกลสุดตามแนวราบของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เรียกว่า"พิสัย" คือ ระยะทางตามแนวราบจากจุดที่ขว้างวัตถุออกไปจนถึงจุดที่วัตถุตกกลับลงมาที่ตำแหน่งความสูงเริ่มต้น

เวลาเมื่อตกถึงพื้น

จากการเคลื่อนที่ในแนวราบ ระยะทางของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็น

ดังนั้น[3]

จะมีค่าสูงสุดเมื่อ

ซึ่งสอดคล้องกับ

หรือ

Trajectories of projectiles launched at different elevation angles but the same speed of 10 m/s in a vacuum and uniform downward gravity field of 10 m/s2. Points are at 0.05 s intervals and length of their tails is linearly proportional to their speed. t = time from launch, T = time of flight, R = range and H = highest point of trajectory (indicated with arrows).

ระยะทางในแนวราบ ที่เคลื่อนที่ได้

เมื่อพื้นเรียบ (ความสูงเริ่มต้น ()) ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้

ดังนั้นวัตถุจะเคลื่อนที่ได้ระยะทางไกลที่สุด เมื่อ มีค่าเท่ากับ 45 องศา

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีบทงานและพลังงาน

[แก้]

ตามทฤษฎีงานและพลังงาน องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่งคือ

สมการเหล่านี้จะไม่พิจารณาแรงต้านของอากาศ และถือว่าพื้นเป็นพื้นราบเรียบ

อ้างอิง

[แก้]
  1. Galileo Galilei, Two New Sciences ', Leiden, 1638, p.249
  2. The คือ ความเร่งโน้มถ่วง. ( ที่ผิวโลก).