ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
 
(ไม่แสดง 5 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 5 คน)
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
}}
}}


'''งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1''' จัดขึ้นเมื่อวันที่ [[16 พฤษภาคม]] ปี[[ค.ศ. 1929]] ที่โรงแรม Hollywood Roosevelt บัตรเข้าชมราคา 5$ มีผู้ร่วมงานไม่ถึง 250 คน งานจัดแค่ 15 นาที การมอบรางวัลในครั้งนี้จะมอบให้กับภาพยนตร์ที่เข้าฉายตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1927 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1928 โดยการประกาศรายผู้ที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้จะไม่เหมือนครั้งหลังๆ โดยจะประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลก่อนวันงานจริง 3 เดือน แล้วจึงมอบรางวัลในงานภายหลัง ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงทุกคนจะได้รับรางวัล Honorable Mention งานประกาศผลรางวัลออสการ์ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่ไม่มีการถ่ายทอดสู่สาธารณชน
'''งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1''' จัดขึ้นเมื่อวันที่ [[16 พฤษภาคม]] ปี[[ค.ศ. 1929]] ที่โรงแรม Hollywood Roosevelt บัตรเข้าชมราคา 5$ มีผู้ร่วมงานไม่ถึง 250 คน งานจัดแค่ 15 นาที การมอบรางวัลในครั้งนี้จะมอบให้กับภาพยนตร์ที่เข้าฉายตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1927 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1928 โดยการประกาศรายผู้ที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้จะไม่เหมือนครั้งหลัง ๆ โดยจะประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลก่อนวันงานจริง 3 เดือน แล้วจึงมอบรางวัลในงานภายหลัง ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงทุกคนจะได้รับรางวัล Honorable Mention งานประกาศผลรางวัลออสการ์ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่ไม่มีการถ่ายทอดสู่สาธารณชน


ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมมี 2 รางวัล คือ Production และ Artistic Quality of Production นอกจากนี้ยังมีการมอบรางวัลสำหรับ Title Writing เนื่องจากในสมัยนั้นภาพยนตร์ยังไม่มีเสียง ปีต่อๆมาภาพยนตร์มีเสียงแล้วจึงไม่มีการมอบรางวัลนี้อีก
ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมมี 2 รางวัล คือ Production และ Artistic Quality of Production นอกจากนี้ยังมีการมอบรางวัลสำหรับ Title Writing เนื่องจากในสมัยนั้นภาพยนตร์ยังไม่มีเสียง ปีต่อ ๆ มาภาพยนตร์มีเสียงแล้วจึงไม่มีการมอบรางวัลนี้อีก


การมอบรางวัลในช่วงแรกๆนี้จะไม่เหมือนครั้งหลังๆ คือ จะดูที่หลายๆผลงานใน 1 ปีของบุคคลนั้นๆ เช่น Emil Jannings ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง ''The Way of All Flesh'' และ ''The Last Command'' เป็นต้น
การมอบรางวัลในช่วงแรก ๆ นี้จะไม่เหมือนครั้งหลัง ๆ คือ จะดูที่หลาย ๆ ผลงานใน 1 ปีของบุคคลนั้น ๆ เช่น Emil Jannings ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง ''The Way of All Flesh'' และ ''The Last Command'' เป็นต้น
[[ไฟล์:1stOscars 1929.jpg|thumb|290px|right|The first Oscar Awards on May 16, 1929]]
[[ไฟล์:1stOscars 1929.jpg|thumb|290px|right|The first Oscar Awards on May 16, 1929]]


บรรทัด 21: บรรทัด 21:


=== Best Production/Picture ===
=== Best Production/Picture ===
'''ได้รางวัล:''' ''[[Wings (film)|Wings]]''
'''ได้รางวัล:''' ''[[Wings]]''


'''เข้าชิง:''' ''[[The Racket]]'', ''[[Seventh Heaven (film)|Seventh Heaven]]'', ''[[The Way of All Flesh (film)|The Way of All Flesh]]'', ''[[The Last Command (film)|The Last Command]]''
'''เข้าชิง:''' ''[[The Racket]]'', ''[[Seventh Heaven (film)|Seventh Heaven]]'', ''[[The Way of All Flesh (film)|The Way of All Flesh]]'', ''[[The Last Command (film)|The Last Command]]''
บรรทัด 81: บรรทัด 81:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[http://www.imdb.com/Sections/Awards/Academy_Awards_USA/1929 งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1] ที่เว็บไซต์ [[IMDb]]
*[http://www.imdb.com/Sections/Awards/Academy_Awards_USA/1929 งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20060829104517/http://www.imdb.com/Sections/Awards/Academy_Awards_USA/1929 |date=2006-08-29 }} ที่เว็บไซต์ [[IMDb]]


{{รางวัลออสการ์}}
{{รางวัลออสการ์}}


[[หมวดหมู่:งานประกาศผลรางวัลออสการ์]]
[[หมวดหมู่:งานประกาศผลรางวัลออสการ์]]
{{Link FL|en}}
{{Link FL|ru}}

[[hy:Օսկարի 1-ին մրցանակաբաշխություն]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:50, 14 สิงหาคม 2564

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1
วันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1929
สถานที่ โรงแรม Hollywood Roosevelt
ฮอลลีวูด แคลิฟอร์เนีย
พิธีกร Douglas Fairbanks
William C. DeMille
ภาพยนตร์ที่น่าสนใจ
ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม Wings (2)
Sunrise (2)
ได้รางวัลมากที่สุด Seventh Heaven (3)
เข้าชิงมากที่สุด Seventh Heaven (5)
ความยาว 15 นาที
  รางวัลออสการ์ ครั้งที่ 2 > 

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม ปีค.ศ. 1929 ที่โรงแรม Hollywood Roosevelt บัตรเข้าชมราคา 5$ มีผู้ร่วมงานไม่ถึง 250 คน งานจัดแค่ 15 นาที การมอบรางวัลในครั้งนี้จะมอบให้กับภาพยนตร์ที่เข้าฉายตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1927 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1928 โดยการประกาศรายผู้ที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้จะไม่เหมือนครั้งหลัง ๆ โดยจะประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลก่อนวันงานจริง 3 เดือน แล้วจึงมอบรางวัลในงานภายหลัง ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงทุกคนจะได้รับรางวัล Honorable Mention งานประกาศผลรางวัลออสการ์ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่ไม่มีการถ่ายทอดสู่สาธารณชน

ครั้งนี้เป็นครั้งเดียวที่รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมมี 2 รางวัล คือ Production และ Artistic Quality of Production นอกจากนี้ยังมีการมอบรางวัลสำหรับ Title Writing เนื่องจากในสมัยนั้นภาพยนตร์ยังไม่มีเสียง ปีต่อ ๆ มาภาพยนตร์มีเสียงแล้วจึงไม่มีการมอบรางวัลนี้อีก

การมอบรางวัลในช่วงแรก ๆ นี้จะไม่เหมือนครั้งหลัง ๆ คือ จะดูที่หลาย ๆ ผลงานใน 1 ปีของบุคคลนั้น ๆ เช่น Emil Jannings ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง The Way of All Flesh และ The Last Command เป็นต้น

The first Oscar Awards on May 16, 1929

รางวัล

[แก้]

Best Production/Picture

[แก้]

ได้รางวัล: Wings

เข้าชิง: The Racket, Seventh Heaven, The Way of All Flesh, The Last Command

Artistic Quality of Production

[แก้]

ได้รางวัล: Sunrise

เข้าชิง: Chang, The Crowd

Best Actor

[แก้]

ได้รางวัล: Emil Jannings จากภาพยนตร์เรื่อง The Way of All Flesh และ The Last Command

เข้าชิง: Richard Barthelmess จากภาพยนตร์เรื่อง The Noose และ The Patent Leather Kid

Best Actress

[แก้]

ได้รางวัล: Janet Gaynor จากภาพยนตร์เรื่อง Seventh Heaven, Street Angel, และ Sunrise

เข้าชิง: Louise Dresser จากภาพยนตร์เรื่อง A Ship Comes In กับ Gloria Swanson จากภาพยนตร์เรื่อง Sadie Thompson

Best Director of a Drama

[แก้]

ได้รางวัล: Frank Borzage จากภาพยนตร์เรื่อง Seventh Heaven

เข้าชิง: Herbert Brenon จากภาพยนตร์เรื่อง Sorrell and Son, King Vidor จากภาพยนตร์เรื่องr The Crowd

Best Director of a Comedy

[แก้]

ได้รางวัล: Lewis Milestone จากภาพยนตร์เรื่อง Two Arabian Knights

เข้าชิง: Ted Wilde จากภาพยนตร์เรื่อง Speedy กับ Charles Chaplin จากภาพยนตร์เรื่อง The Circus

Best Writing (original)

[แก้]

ได้รางวัล: Ben Hecht จากภาพยนตร์เรื่อง Underworld

เข้าชิง: Lajos Biró จากภาพยนตร์เรื่อง The Last Command

Best Writing (adaptation)

[แก้]

ได้รางวัล: Benjamin Glazer จากภาพยนตร์เรื่อง Seventh Heaven

เข้าชิง: Alfred Cohn จากภาพยนตร์เรื่อง The Jazz Singer, Anthony Coldeway จากภาพยนตร์เรื่อง Glorious Betsy

Best Cinematography

[แก้]

ได้รางวัล: Charles Rosher และ Karl Struss จากภาพยนตร์เรื่อง Sunrise

เข้าชิง: George Barnes จากภาพยนตร์เรื่อง The Devil Dancer, The Magic Flame, และ Sadie Thompson

Best Engineering Effects

[แก้]

ได้รางวัล: Roy Pomeroy จากภาพยนตร์เรื่อง Wings

เข้าชิง: Ralph Hammeras จากภาพยนตร์หลายๆเรื่อง และ Nugent Slaughter จากภาพยนตร์หลายๆเรื่อง

Art Direction

[แก้]

ได้รางวัล: William Cameron Menzies จากภาพยนตร์เรื่อง The Dove และ Tempest

เข้าชิง: Rochus Gliese จากภาพยนตร์เรื่อง Sunrise, Harry Oliver จากภาพยนตร์เรื่อง Seventh Heaven

Special Awards

[แก้]

Charles Chaplin ได้รับรางวัลเกียรติยศ จากภาพยนตร์เรื่อง The Circus

Warner Brothers ได้รับรางวัลเกียรติยศ จากภาพยนตร์เรื่อง The Jazz Singer

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]