ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บัดกรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WindowMaker (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มการพูดถึงหัวแร้ง
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 6 คน)
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Desoldering.jpg|thumb|การบัดกรี]]
[[ไฟล์:Desoldering.jpg|thumb|การบัดกรี]]


'''บัดกรี''' คือ[[การเชื่อม]]โลหะเข้าด้วยกันโดยการใช้[[โลหะ]]ที่มีจุดหลอมเหลวต่ำ (เช่น[[ตะกั่ว]]ผสมกับโลหะอื่น) โดยให้ความร้อนที่ 180 ถึง 190 เซลเซียส (360 ถึง 370 ฟาเรนไฮต์) ด้วย[[หัวแร้ง]] นิยมใช้ในการเชื่อมอุปกรณ์[[อิเล็กทรอนิกส์]]
'''บัดกรี''' ({{lang-en|soldering}}) คือ[[การเชื่อม]]โลหะเข้าด้วยกันโดยการใช้[[โลหะ]]ที่มีจุดหลอมเหลวต่ำ (เช่น[[ตะกั่ว]]ผสมกับโลหะอื่น) โดยให้ความร้อนที่ 180 ถึง 190 เซลเซียส (360 ถึง 370 ฟาเรนไฮต์) ด้วย[[หัวแร้ง]] นิยมใช้ในการเชื่อมอุปกรณ์[[อิเล็กทรอนิกส์]]


ลวดบัดกรีมักจะทำมาจาก[[ตะกั่ว]]และ[[ตะกั่ว]]ในส่วนผสมของโลหะระหว่าง 5% - 70% โดยปริมาณของดีบุกจะมีผลต่อแรงดึงและแรงเชียร์ของบัดกรี ลวดบัดกรีที่มีขายในท้องตลาดคือ 60/40 Sn/Pb และ 63/37 Sn/Pb
ลวดบัดกรีมักจะทำมาจาก[[ตะกั่ว]]และ[[ตะกั่ว]]ในมีส่วนผสมของโลหะระหว่าง 5% - 70% โดยปริมาณของดีบุกจะมีผลต่อแรงดึงและแรงเชียร์ของบัดกรี ลวดบัดกรีที่มีขายในท้องตลาดคือ 60/40 Sn/Pb และ 63/37 Sn/Pb


[[หมวดหมู่:กระบวนการผลิต]]
[[หมวดหมู่:กระบวนการผลิต]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:14, 4 มีนาคม 2563

การบัดกรี

บัดกรี (อังกฤษ: soldering) คือการเชื่อมโลหะเข้าด้วยกันโดยการใช้โลหะที่มีจุดหลอมเหลวต่ำ (เช่นตะกั่วผสมกับโลหะอื่น) โดยให้ความร้อนที่ 180 ถึง 190 เซลเซียส (360 ถึง 370 ฟาเรนไฮต์) ด้วยหัวแร้ง นิยมใช้ในการเชื่อมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

ลวดบัดกรีมักจะทำมาจากตะกั่วและตะกั่วในมีส่วนผสมของโลหะระหว่าง 5% - 70% โดยปริมาณของดีบุกจะมีผลต่อแรงดึงและแรงเชียร์ของบัดกรี ลวดบัดกรีที่มีขายในท้องตลาดคือ 60/40 Sn/Pb และ 63/37 Sn/Pb