ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Idioma-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.3) (โรบอต เพิ่ม: lt:Grafinė sąsaja แก้ไข: fr:Interface graphique, gl:Interface gráfica de usuario
ย้อนการแก้ไขที่ 11376873 สร้างโดย Amherst99 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
(ไม่แสดง 32 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 24 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้''' (Graphical User Interface, GUI อ่านว่า จียูไอ หรือ กูอี้) เป็นวิธีการใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านทางสัญลักษณ์หรือภาพนอกเหนือจากทางตัวอักษร จียูไอมีส่วนประกอบต่างๆ เช่น [[ไอคอน (คอมพิวเตอร์)|ไอคอน]] หน้าต่างการใช้งาน เมนู ปุ่มเลือก และการใช้เมาส์ หรือแม้แต่ในระบบ[[ทัชสกรีน]]
'''ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้''' (Graphical User Interface, GUI อ่านว่า จียูไอ หรือ กูอี้) เป็นวิธีการใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านทางสัญลักษณ์หรือภาพนอกเหนือจากทางตัวอักษร จียูไอมีส่วนประกอบต่างๆ เช่น [[ไอคอน (คอมพิวเตอร์)|ไอคอน]] หน้าต่างการใช้งาน เมนู ปุ่มเลือก และการใช้เมาส์ หรือแม้แต่ในระบบ[[ทัชสกรีน]]


จียูไอพัฒนาพัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยที่[[สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด]]นำโดย [[ดัก เอนเกลบาร์ต]] (Doug Engelbart) โดยการใช้งานร่วมกับ[[ไฮเปอร์ลิงก์]]และ[[เมาส์]] ซึ่งภายหลังได้นำมาวิจัยต่อที่[[ศูนย์วิจัยซีร็อกซ์พาร์ค]] (Xerox PARC) โดยใช้งานระบบกราฟิกแทนที่ระบบตัวอักษร โดยบางคนจะเรียกระบบนี้ว่า PARC User Interface หรือ PUI ปลาย[[คริสต์ทศวรรษที่ 1970]] [[แอปเปิลคอมพิวเตอร์]]ได้นำมาใช้ครั้งกับเครื่อง[[แมคอินทอช]] ซึ่งภายหลังทาง[[ไมโครซอฟท์]]ได้เลียนแบบความคิดมาใช้กับระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ในปัจจุบันจียูไอเป็นที่นิยมโดยสามารถเห็นได้จากระบบปฏิบัติการ [[แมคอินทอช]] และ [[วินโดวส์]] และล่าสุดใน[[ลินุกซ์]]
จียูไอพัฒนาพัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยที่[[สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด]]นำโดย [[ดัก เอนเกลบาร์ต]] (Doug Engelbart) โดยการใช้งานร่วมกับ[[ไฮเปอร์ลิงก์]]และ[[เมาส์]] ซึ่งภายหลังได้นำมาวิจัยต่อที่[[ศูนย์วิจัยซีร็อกซ์พาร์ค]] (Xerox PARC) โดยใช้งานระบบกราฟิกแทนที่ระบบตัวอักษร โดยบางคนจะเรียกระบบนี้ว่า PARC User Interface หรือ PUI ปลาย[[คริสต์ทศวรรษที่ 1970]] [[แอปเปิลคอมพิวเตอร์]]ได้นำมาใช้ครั้งแรกกับเครื่อง[[แมคอินทอช]] ซึ่งภายหลังทาง[[ไมโครซอฟท์]]ได้นำความคิดมาใช้กับระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ในปัจจุบันจียูไอเป็นที่นิยมโดยสามารถเห็นได้จากระบบปฏิบัติการ [[แมคอินทอช]] และ [[วินโดวส์]] และล่าสุดใน[[ลินุกซ์]]


== แบบกราฟิกเปรียบเทียบกับแบบข้อความ ==
== แบบกราฟิกเปรียบเทียบกับแบบข้อความ ==
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
ใช้ส่วนการติดต่อกับผู้ใช้ผ่านทางระบบ [[API]] โดยไปเรียกส่วนประมวณผลที่ชื่อว่า [[GDI]] และมีโหมดที่เป็นส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบชุดคำสั่ง
ใช้ส่วนการติดต่อกับผู้ใช้ผ่านทางระบบ [[API]] โดยไปเรียกส่วนประมวณผลที่ชื่อว่า [[GDI]] และมีโหมดที่เป็นส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบชุดคำสั่ง
แยกเป็นส่วนหนึ่งอีกต่างหากแต่ยังคงอยู่ภายใต้ระบบปฏิบัติการ ([[เชลล์ (คอมพิวเตอร์)|shell]])
แยกเป็นส่วนหนึ่งอีกต่างหากแต่ยังคงอยู่ภายใต้ระบบปฏิบัติการ ([[เชลล์ (คอมพิวเตอร์)|shell]])
ระบบ GUI ในส่วนของ Opensource ได้มีการจัดตั้งองค์การขึ้นมาเพื่อทำการกำหนดมาตรฐานกลางที่ใช้ในทำงานในส่วนการพัฒนาของ Desktop ร่วมกันเช่น การกำหนดมาตรฐานของเมนู, ลักษณะส่วนติดต่อย่อยอื่นๆ เป็นต้นโดยองค์นี้มีชื่อว่า freedesktop Desktop ที่ร่วมใช้มาตรฐานเดียวกันกับ freedesktop เช่น [[Gnome]], [[KDE]], [[XFCE]] เป็นต้น รวมถึงมีการพัฒนาลูกเล่นต่างๆ ออกไปมากมาย รวมถึงการใช้งานที่หลากหลายมากขึ้นโดยลดการติดต่อระหว่าง
ระบบ GUI ในส่วนของ Open source ได้มีการจัดตั้งองค์การขึ้นมาเพื่อทำการกำหนดมาตรฐานกลางที่ใช้ในทำงานในส่วนการพัฒนาของ Desktop ร่วมกันเช่น การกำหนดมาตรฐานของเมนู, ลักษณะส่วนติดต่อย่อยอื่นๆ เป็นต้นโดยองค์นี้มีชื่อว่า free desktop Desktop ที่ร่วมใช้มาตรฐานเดียวกันกับ free desktop เช่น [[Gnome]], [[KDE]], [[XFCE]] เป็นต้น รวมถึงมีการพัฒนาลูกเล่นต่างๆ ออกไปมากมาย รวมถึงการใช้งานที่หลากหลายมากขึ้นโดยลดการติดต่อระหว่าง
ผู้ใช้และส่วนที่เป็นการประสานชุดคำสั่งลงให้มากที่สุด ใน[[ระบบปฏิบัติการ]]ใหม่ๆ ในปัจจุบันมีการรองรับการใช้งานทั้งแบบกราฟิกและแบบข้อความ โดยแสดงผลผ่านทางกราฟิกเป็นหลักสำหรับผู้ใช้ทั่วไป และต้องใช้คำสั่งพิเศษเพื่อเรียกใช้คำสั่งของการใช้ส่วนต่อประสานแบบข้อความ โดยแบ่งแยกออกเป็น
ผู้ใช้และส่วนที่เป็นการประสานชุดคำสั่งลงให้มากที่สุด ใน[[ระบบปฏิบัติการ]]ใหม่ๆ ในปัจจุบันมีการรองรับการใช้งานทั้งแบบกราฟิกและแบบข้อความ โดยแสดงผลผ่านทางกราฟิกเป็นหลักสำหรับผู้ใช้ทั่วไป และต้องใช้คำสั่งพิเศษเพื่อเรียกใช้คำสั่งของการใช้ส่วนต่อประสานแบบข้อความ โดยแบ่งแยกออกเป็น
โหมดการทำงานได้ด้วย
โหมดการทำงานได้ด้วย


{{Desktop environments}}
[[หมวดหมู่:ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้]]
[[หมวดหมู่:ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้]]
[[หมวดหมู่:ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้| ]]
[[หมวดหมู่:ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้]]
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์]]
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์]]
[[หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐ]]

[[ar:واجهة مستخدم رسومية]]
[[ast:Interfaz gráfica d'usuariu]]
[[be:Графічны інтэрфейс карыстальніка]]
[[bg:Графичен потребителски интерфейс]]
[[bs:GUI]]
[[ca:Interfície gràfica d'usuari]]
[[cs:Grafické uživatelské rozhraní]]
[[da:Grafisk brugerflade]]
[[de:Grafische Benutzeroberfläche]]
[[el:Γραφικό Περιβάλλον Χρήστη]]
[[en:Graphical user interface]]
[[eo:Grafika uzantinterfaco]]
[[es:Interfaz gráfica de usuario]]
[[et:GUI]]
[[fa:واسط گرافیکی کاربر]]
[[fi:Graafinen käyttöliittymä]]
[[fr:Interface graphique]]
[[gl:Interface gráfica de usuario]]
[[he:ממשק משתמש גרפי]]
[[hi:ग्राफिकल यूज़र इंटरफेस]]
[[hr:Grafičko korisničko sučelje]]
[[hu:Grafikus felhasználói felület]]
[[id:Antarmuka pengguna grafis]]
[[is:Myndrænt viðmót]]
[[it:Interfaccia grafica]]
[[ja:グラフィカルユーザインタフェース]]
[[ko:그래픽 사용자 인터페이스]]
[[la:Gui]]
[[lt:Grafinė sąsaja]]
[[mhr:Графике интерфейс]]
[[ms:Antara muka grafik pengguna]]
[[nds:Böverflach (Reekner)]]
[[nl:Grafische gebruikersomgeving]]
[[no:Grafisk brukergrensesnitt]]
[[pl:Interfejs graficzny]]
[[pt:Interface gráfica do utilizador]]
[[ro:Interfață grafică]]
[[ru:Графический интерфейс пользователя]]
[[sh:GUI]]
[[sk:GUI]]
[[sl:Grafični uporabniški vmesnik]]
[[sq:GUI]]
[[sr:Графичко корисничко окружење]]
[[sv:Grafiskt användargränssnitt]]
[[ta:வரைகலை பயனர் இடைமுகம்]]
[[tl:Pakikihalubilong makikitang pantagagamit]]
[[tr:Grafiksel kullanıcı arayüzü]]
[[uk:Графічний інтерфейс користувача]]
[[ur:مخطط صارفی سطح البین]]
[[vi:Giao diện người dùng đồ họa]]
[[zh:图形用户界面]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 03:16, 6 ธันวาคม 2567

ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface, GUI อ่านว่า จียูไอ หรือ กูอี้) เป็นวิธีการใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านทางสัญลักษณ์หรือภาพนอกเหนือจากทางตัวอักษร จียูไอมีส่วนประกอบต่างๆ เช่น ไอคอน หน้าต่างการใช้งาน เมนู ปุ่มเลือก และการใช้เมาส์ หรือแม้แต่ในระบบทัชสกรีน

จียูไอพัฒนาพัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยที่สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ดนำโดย ดัก เอนเกลบาร์ต (Doug Engelbart) โดยการใช้งานร่วมกับไฮเปอร์ลิงก์และเมาส์ ซึ่งภายหลังได้นำมาวิจัยต่อที่ศูนย์วิจัยซีร็อกซ์พาร์ค (Xerox PARC) โดยใช้งานระบบกราฟิกแทนที่ระบบตัวอักษร โดยบางคนจะเรียกระบบนี้ว่า PARC User Interface หรือ PUI ปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1970 แอปเปิลคอมพิวเตอร์ได้นำมาใช้ครั้งแรกกับเครื่องแมคอินทอช ซึ่งภายหลังทางไมโครซอฟท์ได้นำความคิดมาใช้กับระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ในปัจจุบันจียูไอเป็นที่นิยมโดยสามารถเห็นได้จากระบบปฏิบัติการ แมคอินทอช และ วินโดวส์ และล่าสุดในลินุกซ์

แบบกราฟิกเปรียบเทียบกับแบบข้อความ

[แก้]
การใช้งานแบบกราฟิกและแบบชุดคำสั่ง ในวินโดวส์ ไอคอนและโปรแกรมต่างๆ ทำงานระบบกราฟิก ขณะที่หน้าต่างการใช้งาน (ตรงกลางสีดำ) เป็นการใช้งานผ่านชุดคำสั่ง

ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ช่วยให้การเรียนรู้การใช้งานคอมพิวเตอรทำได้ง่ายและเร็วขึ้นเปรียบเทียบกับระบบเก่า

ที่ต้องพิมพ์ชุดคำสั่งที่ใช้ในระบบดอสหรือยูนิกซ์ ซึ่งเป็นส่วนต่อประสานผู้ใช้แบบข้อความ (Text user interface) ในบางครั้งจะเรียกว่า ส่วนต่อประสานแบบชุดคำสั่ง (Command Line Interfaces, CLI) ในการใช้งานผู้ใช้ต้องพิมพ์คำสั่งผ่านทางคีย์บอร์ด โดยคำสั่งเฉพาะต่างๆที่พิมพ์จำเป็นต้องใช้เวลาระยะหนึ่งในการเรียนรู้ อย่างไรก็ดีในบางระบบเช่น Linux ก็ยังใข้ GUI เป็น frontend เพื่อที่ทำงาน กับส่วนต่อประสานแบบชุดคำสั่ง รวมถึงการพัฒนารูปแบบของ GUI ได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วโดยมีทั้งในส่วนของ Commercial และ แบบ โอเพ่นซอร์ส ซึ่งในส่วนของ Commercial ได้มีบริษัทยักษ์ใหญ่บางบริษัทเริ่มเข้าจับตลาดทางด้านนี้แล้วเช่น Sun ก็มีในส่วนของ Java Desktop เป็นต้น โดยกล่าวถึงรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้แบบนี้ว่า Desktop ระบบของ GUI เช่นในส่วนของระบบปฏิบัติการวินโดว์จะเป็นในลักษณะถูกสร้างขึ้นมาให้เป็นส่วนหนึ่งกับตัวระบบปฏิบัติการเลย โดยมีการเรียก ใช้ส่วนการติดต่อกับผู้ใช้ผ่านทางระบบ API โดยไปเรียกส่วนประมวณผลที่ชื่อว่า GDI และมีโหมดที่เป็นส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบชุดคำสั่ง แยกเป็นส่วนหนึ่งอีกต่างหากแต่ยังคงอยู่ภายใต้ระบบปฏิบัติการ (shell) ระบบ GUI ในส่วนของ Open source ได้มีการจัดตั้งองค์การขึ้นมาเพื่อทำการกำหนดมาตรฐานกลางที่ใช้ในทำงานในส่วนการพัฒนาของ Desktop ร่วมกันเช่น การกำหนดมาตรฐานของเมนู, ลักษณะส่วนติดต่อย่อยอื่นๆ เป็นต้นโดยองค์นี้มีชื่อว่า free desktop Desktop ที่ร่วมใช้มาตรฐานเดียวกันกับ free desktop เช่น Gnome, KDE, XFCE เป็นต้น รวมถึงมีการพัฒนาลูกเล่นต่างๆ ออกไปมากมาย รวมถึงการใช้งานที่หลากหลายมากขึ้นโดยลดการติดต่อระหว่าง ผู้ใช้และส่วนที่เป็นการประสานชุดคำสั่งลงให้มากที่สุด ในระบบปฏิบัติการใหม่ๆ ในปัจจุบันมีการรองรับการใช้งานทั้งแบบกราฟิกและแบบข้อความ โดยแสดงผลผ่านทางกราฟิกเป็นหลักสำหรับผู้ใช้ทั่วไป และต้องใช้คำสั่งพิเศษเพื่อเรียกใช้คำสั่งของการใช้ส่วนต่อประสานแบบข้อความ โดยแบ่งแยกออกเป็น โหมดการทำงานได้ด้วย