ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุรเชชษฐ์ หักพาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lookruk (คุย | ส่วนร่วม)
Reverted 1 edit by 27.55.64.73 (talk): ยังไม่มีการยืนยัน (TwinkleGlobal)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
เต่าไม่บิน (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
(ไม่แสดง 46 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 19 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{แหล่งอ้างอิงปฐมภูมิ}}
{{แหล่งอ้างอิงปฐมภูมิ}}
{{กล่องข้อมูล ผู้ดำรงตำแหน่ง
{{กล่องข้อมูล ผู้ดำรงตำแหน่ง
| name = สุรเชษฐ์​ หัก​พาล
| name = สุรเชชษฐ์​ หัก​พาล
| honorific-prefix = [[พลตํารวจเอก]]
| honorific-prefix = [[พลตํารวจเอก]]
| honorific-suffix = {{post-nominals|country=THA|size=100%|ปช|ปม}}
| honorific-suffix = [[ประถมาภรณ์ช้างเผือก|ป.ช.]], [[ประถมาภรณ์มงกุฏไทย|ป.ม.]]
| image =
| image =
| order = [[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)|รองผู้​บัญชาการ​ตำรวจ​แห่งชาติ​]]
| order = [[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)|รองผู้​บัญชาการ​ตำรวจ​แห่งชาติ​]]
| term_start = 21 มิถุนายน พ.ศ. 2567
| term_start = 1 ตุลาคม​ พ.ศ. 2565
| term_end = 15 สิงหาคม พ.ศ. 2567<br>({{อายุปีและวัน|2022|10|01|2024|8|15}})
| term_end =
| term_start1 = 1 ตุลาคม​ พ.ศ. 2565
| term_end1 = 18 เมษายน พ.ศ. 2567<br>({{อายุปีและวัน|2022|10|01|2024|5|18}})
| successor1 =
| successor1 =
| birth_name = สุรเชษฐ์ หักพาล
| birth_date = {{วันเกิด-อายุ|2513|10|29}}
| birth_date = {{วันเกิด-อายุ|2513|10|29}}
| birth_place = [[อำเภอสะเดา]] [[จังหวัดสงขลา]] [[ประเทศไทย]]
| birth_place = [[อำเภอสะเดา]] [[จังหวัดสงขลา]] [[ประเทศไทย]]
| alma_mater = [[โรงเรียนเตรียมทหาร]]<br>[[โรงเรียนนายร้อยตำรวจ]]<br>[[มหาวิทยาลัยมหิดล]]
| alma_mater = [[โรงเรียนเตรียมทหาร]]<br>[[โรงเรียนนายร้อยตำรวจ]]<br>[[มหาวิทยาลัยมหิดล]] <br> [[มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์]]
| education = [[มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย]]<ref name=jakdow/>
| education = [[มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย]]<ref name=jakdow/>
| father = ไสว หักพาล
| father = ไสว หักพาล
บรรทัด 19: บรรทัด 18:
| spouse = ศิรินัดดา หักพาล
| spouse = ศิรินัดดา หักพาล
| rank = [[ไฟล์:RTP OF-9 (Police General).svg|18px]] [[พลตํารวจเอก]]​
| rank = [[ไฟล์:RTP OF-9 (Police General).svg|18px]] [[พลตํารวจเอก]]​
| serviceyears = พ.ศ. 2537 – 2562<br>พ.ศ. 2564 – ปัจจุบัน
| serviceyears = พ.ศ. 2537 – 2562<br>พ.ศ. 2564 – 2567
| branch = [[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ]]
| branch = [[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)|สำนักงานตำรวจแห่งชาติ]]
| allegiance = ไทย
| allegiance = ไทย
| alongside = <br>สราวุฒิ การพานิช<br>ธนา ชูวงศ์<br>(ตั้งแต่ พ.ศ. 2566)<br>[[รอย อิงคไพโรจน์]]<br>[[กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์]]<br>(ตั้งแต่ พ.ศ. 2565)<br>[[ชินภัทร สารสิน]]<br>[[ต่อศักดิ์ สุขวิมล]]<br>(พ.ศ. 2565–2567)
| alongside = <br>สราวุฒิ การพานิช<br>ธนา ชูวงศ์<br>(พ.ศ. 2566–2567)<br>[[รอย อิงคไพโรจน์]]<br>[[กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์]]<br>(พ.ศ. 2565-2567)<br>[[ชินภัทร สารสิน]]<br>[[ต่อศักดิ์ สุขวิมล]]<br>(พ.ศ. 2565–2566)
}}
}}


พลตํารวจเอก '''สุรเชษฐ์ หักพาล'''​ ({{ชื่อเล่น|โจ๊ก}}; เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2513) ตำรวจไทย เคยดำรงตำแหน่ง[[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)|รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ]] (ด้านความมั่นคง) เคย ช่วยราชการที่[[สำนักนายกรัฐมนตรี]]<ref>{{Cite web|date=2024-03-20|title=นายกฯสั่ง บิ๊กต่อ-บิ๊กโจ๊ก เข้ามาช่วยงานที่สำนักนายกฯ มอบบิ๊กต่าย นั่งรักษาการ|url=https://www.thairath.co.th/news/crime/2772005|website=www.thairath.co.th|language=th}}</ref>
พลตํารวจเอก '''สุรเชชษฐ์ หักพาล'''<ref>{{Cite web|date=2024-07-30|title=บิ๊กโจ๊ก เปลี่ยนชื่อใหม่ เพิ่ม ช. อีกหนึ่งตัว เป็น “สุรเชชษฐ์”|url=https://www.pptvhd36.com/news/สังคม/229468|url-status=live|access-date=2024-09-30|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref>​ {{post-nominals|country=THA|size=100%|ปช|ปม}} (ชื่อเกิด: '''สุรเชษฐ์ หักพาล'''; เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2513) ชื่อเล่น '''โจ๊ก''' เป็นตำรวจชาวไทย เคยดำรงตำแหน่ง[[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)|รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ]] (ด้านสืบสวนสอบสวน, ความมั่นคง) เคยช่วยราชการที่[[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)|สำนักนายกรัฐมนตรี]]<ref>{{Cite web|date=2024-03-20|title=นายกฯสั่ง บิ๊กต่อ-บิ๊กโจ๊ก เข้ามาช่วยงานที่สำนักนายกฯ มอบบิ๊กต่าย นั่งรักษาการ|url=https://www.thairath.co.th/news/crime/2772005|website=www.thairath.co.th|language=th}}</ref>


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ เกิดเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2513 ที่ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เป็นบุตรของนายดาบตำรวจ ไสว และนางสุมิตรา หักพาล สำเร็จการศึกษาในชั้นอนุบาล [[โรงเรียนกลับเพชรศึกษา]]ซึ่งมารดาเป็นครูสอนอยู่โรงเรียนนี้ สำเร็จการศึกษาในชั้นประถม [[โรงเรียนวิเชียรชม]] สำเร็จการศึกษาในชั้น มัธยมศึกษาจาก[[โรงเรียนมหาวชิราวุธ]] และ[[โรงเรียนเตรียมทหาร]] รุ่นที่ 31 ระดับชั้นปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สำเร็จการศึกษาจาก[[โรงเรียนนายร้อยตำรวจ]] รุ่นที่ 47 เป็นหัวหน้านักเรียนของนรต.รุ่น47 ระดับปริญญาโท สังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขา[[อาชญาวิทยา]]และการบริหารงานยุติธรรม จาก[[มหาวิทยาลัยมหิดล]] โดยสามารถสอบคัดเลือกเข้าเรียนได้เป็นอันดับ 1 และระดับปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา[[รัฐประศาสนศาสตร์]] จาก[[มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย]] และระดับ ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา[[อาชญาวิทยา]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] <ref name =jakdow/><ref name = komchadluek1>[http://www.komchadluek.net/news/crime/368151 ชะตาชีวิต "นายพล" คนดัง "สุรเชษฐ์ หักพาล" ในเส้นทางสีกากีก่อนถูกสั่งย้ายด่วนเข้ากรุ]</ref> ปัจจุบันกำลังศึกษา [[คณะนิติศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ภาคค่ำ (นอกเวลาราชการ) หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน นอกจากนี้
พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ เกิดเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2513 ที่ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เป็นบุตรของนายดาบตำรวจ ไสว และนางสุมิตรา หักพาล สำเร็จการศึกษาในชั้นอนุบาล [[โรงเรียนกลับเพชรศึกษา]]ซึ่งมารดาเป็นครูสอนอยู่โรงเรียนนี้ สำเร็จการศึกษาในชั้นประถม [[โรงเรียนวิเชียรชม]] สำเร็จการศึกษาในชั้น มัธยมศึกษาจาก[[โรงเรียนมหาวชิราวุธ]] และ[[โรงเรียนเตรียมทหาร]] รุ่นที่ 31 ระดับชั้นปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สำเร็จการศึกษาจาก[[โรงเรียนนายร้อยตำรวจ]] รุ่นที่ 47 เป็นหัวหน้านักเรียนของนรต.รุ่น47 ระดับปริญญาโท สังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขา[[อาชญาวิทยา]]และการบริหารงานยุติธรรม จาก[[มหาวิทยาลัยมหิดล]] โดยสามารถสอบคัดเลือกเข้าเรียนได้เป็นอันดับ 1 และระดับปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา[[รัฐประศาสนศาสตร์]] จาก[[มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย]] และระดับ ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา[[อาชญาวิทยา]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] <ref name =jakdow/><ref name = komchadluek1>[http://www.komchadluek.net/news/crime/368151 ชะตาชีวิต "นายพล" คนดัง "สุรเชษฐ์ หักพาล" ในเส้นทางสีกากีก่อนถูกสั่งย้ายด่วนเข้ากรุ]</ref> จบการศึกษา [[คณะนิติศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ภาคค่ำ (นอกเวลาราชการ) หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน นอกจากนี้


พล.ต.อ สุรเชชษฐ์ หักพาล ยังจบหลักสูตร และ รับมอบประกาศเกียรติบัตร ผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 21 (ปปร.21) จาก พลเอก [[สุรยุทธ์ จุลานนท์]] [[ประธานองคมนตรี]]

จบหลักสูตร พตส [[พัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง]]รุ่นที่14
พล.ต.อ สุรเชษฐ์ หักพาล ยังจบหลักสูตร และ รับมอบประกาศเกียรติบัตร ผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 21 (ปปร.21) จาก พลเอก [[สุรยุทธ์ จุลานนท์]] [[ประธานองคมนตรี]]


ในวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2565 เขาได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น[[สถาบันพระปกเกล้า]] จาก[[ชวน หลีกภัย]] [[ประธานรัฐสภาไทย]]ในขณะนั้น ปัจจุบันสำเร็จการศึกษา [[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] หลักสูตร ว.ป.อ.ปีการศึกษา 2565
ในวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2565 เขาได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น[[สถาบันพระปกเกล้า]] จาก[[ชวน หลีกภัย]] [[ประธานรัฐสภาไทย]]ในขณะนั้น ปัจจุบันสำเร็จการศึกษา [[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] หลักสูตร ว.ป.อ.ปีการศึกษา 2565

สำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org) รายงานว่า วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 เว็บไซต์ศาลปกครอง เผยแพร่ประกาศมูลนิธิวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางปกครอง เรื่อง รายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกเข้ารับการอบรม กำหนดการลงทะเบียนและกำหนดการอบรม หลักสูตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ที่ได้รับการรับรองจาก ก.ศป.แล้ว) รุ่นที่ 15 จำนวน 149 คน ปรากฎมีรายชื่อ พลตำรวจเอก สุรเชษฐ์ หรือ สุรเชชษฐ์ หักพาล อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นผู้ได้รับการคัดเลือกเข้ารับการอบรมดังกล่าวด้วย


== การทำงาน ==
== การทำงาน ==
===เริ่มต้นรับราชการตำรวจ===
===เริ่มต้นรับราชการตำรวจ===
ร.ต.ต. สุรเชษฐ์ ในขณะนั้นนั้น เริ่มรับราชการตำรวจในตำแหน่งรองสารวัตร เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 จนได้รับการแต่งตั้งเลื่อนขั้นเป็นสารวัตรในกองวินัย ต่อมาเป็นสารวัตรสถานี[[ตำรวจทางหลวง]] 4 กองกำกับการ 5 [[จังหวัดเชียงใหม่]] เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 และสารวัตรสถานีตำรวจทางหลวง 2 กองกำกับการ 3 [[จังหวัดชลบุรี]] เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 จนได้รับการโปรดเกล้าฯ เป็นนายตำรวจราชสำนักประจำ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2546<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2547/00143041.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งนายตำรวจราชสำนัก (หน้า ๕)]{{ลิงก์เสีย|date=พฤศจิกายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> และเป็นผู้ช่วยนายเวรตำรวจราชสำนักประจำให้กับ พล.ต.อ. [[วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี]] เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547<ref name=matichon2>[https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_1444291 ย้อนอ่าน เส้นทาง ‘พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ หักพาล’ ฉายา ‘โจ๊ก หวานเจี๊ยบ’ ก่อนเป็น ขรก.พลเรือน]</ref><ref name=spring1>[https://www.springnews.co.th/politics/476140 เส้นทางชีวิต “บิ๊กโจ๊ก” พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ หักพาล]</ref>
ร.ต.ต. สุรเชษฐ์ ในขณะนั้น เริ่มรับราชการตำรวจในตำแหน่งรองสารวัตร เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 จนได้รับการแต่งตั้งเลื่อนขั้นเป็นสารวัตรในกองวินัย ต่อมาเป็นสารวัตรสถานี[[ตำรวจทางหลวง]] 4 กองกำกับการ 5 [[จังหวัดเชียงใหม่]] เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 และสารวัตรสถานีตำรวจทางหลวง 2 กองกำกับการ 3 [[จังหวัดชลบุรี]] เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 จนได้รับการโปรดเกล้าฯ เป็นนายตำรวจราชสำนักประจำ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2546<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2547/00143041.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งนายตำรวจราชสำนัก (หน้า ๕)]{{ลิงก์เสีย|date=พฤศจิกายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> และเป็นผู้ช่วยนายเวรตำรวจราชสำนักประจำให้กับ พล.ต.อ. [[วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี]] เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547<ref name=matichon2>[https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_1444291 ย้อนอ่าน เส้นทาง ‘พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ หักพาล’ ฉายา ‘โจ๊ก หวานเจี๊ยบ’ ก่อนเป็น ขรก.พลเรือน]</ref><ref name=spring1>[https://www.springnews.co.th/politics/476140 เส้นทางชีวิต “บิ๊กโจ๊ก” พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ หักพาล]</ref>


===ระดับผู้กำกับการ===
===ระดับผู้กำกับการ===
บรรทัด 67: บรรทัด 68:


=== กรณีเว็บพนันออนไลน์และคำสั่งย้ายเข้าช่วยราชการสำนักนายกรัฐมนตรี ===
=== กรณีเว็บพนันออนไลน์และคำสั่งย้ายเข้าช่วยราชการสำนักนายกรัฐมนตรี ===
พล.ต.อ. สุรเชษฐ์ ได้เกิดความขัดแย้งกับ พล.ต.อ.[[ต่อศักดิ์ สุขวิมล]] [[รายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย|ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ]] สืบเนื่องจากเหตุที่ถูกเปิดโปงในกรณีที่ตำรวจชั้นผู้น้อยซึ่งเป็นกำลังพลของตน ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับคดี'''''[[เว็บพนันทางออนไลน์]]''''' ตั้งแต่ต้นเดือนกันยายน พ.ศ. 2566 และยังมีการโยงมาถึง พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีเว็บพนันออนไลน์ในเวลาต่อมา จึงทำให้กองกำลังตำรวจของ[[กองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี]] (ตำรวจไซเบอร์) เข้าบุกค้นที่พักอาศัยของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2566 และเมื่อช่วงต้นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2567 พล.ต.ต.[[จรูญเกียรติ ปานแก้ว]] [[กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง|รองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง]] ได้ออกมาพูดถึงกรณีคดีเว็บพนันนออนไลน์อีกครั้งและเป็นการออกมาพูดเพื่อยืนยันถึงเส้นทางการเงินของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ว่ามีความเกี่ยวข้องกับคดีเว็บพนันออนไลน์จริง โดยเป็นฐานความผิดร่วมกันฟอกเงิน จนทำให้เกิดความขัดแย้งกันระหว่าง พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ และ พล.ต.ต.จรูญเกียรติ ในเวลาต่อมา พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล ได้เข้ามาขอยุติความขัดแย้งของทั้ง 2 ฝ่าย แต่เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2567 ทีมทนายความประจำตัวของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ได้ตั้งโต๊ะแถลงข่าวออกมาเปิดโปงเกี่ยวกับการดำเนินคดีเว็บพนันออนไลน์ และได้มีการโยงไปถึง พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีนี้ด้วย จนเกิดเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันระหว่าง พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ กับ ทีมทนายความของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ จึงเป็นเหตุให้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม นาย[[เศรษฐา ทวีสิน]] [[รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] มีคำสั่งให้ พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ และ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ เข้าพบที่[[ตึกไทยคู่ฟ้า]] [[ทำเนียบรัฐบาล]] เพื่อพูดคุยปัญหาปมขัดแย้ง และรายงานข้อมูลคดีเว็บพนันทางออนไลน์ที่ทั้งคู่กำลังเป็นประเด็น โดยใช้เวลาประมาณ 20 นาที<ref>{{Cite web|last=https://www.pptvhd36.com|date=2024-03-21|title=สรุปไทม์ไลน์ เด้งแพ็กคู่ "บิ๊กต่อ-บิ๊กโจ๊ก" เข้ากรุ สำนักนายกรัฐมนตรี|url=https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1/219913|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref> แต่ในเมื่อพูดคุยสอบถามแล้วยังไม่เป็นผล นายกรัฐมนตรีจึงลงนามในคำสั่งด่วนที่สุด ให้ทั้งคู่มาปฏิบัติงานช่วยราชการที่[[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)|สำนักนายกรัฐมนตรี]]เป็นเวลา 60 วัน (2 เดือน) เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเพื่อเป็นการสอบสวนหาข้อเท็จจริงในคราวเดียวกัน จากนั้น นายกรัฐมนตรีมีคำสั่งแต่งตั้ง พล.ต.อ.[[กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์]] รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนที่ 2 ขึ้นมาดำรงตำแหน่งรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติแทน แต่ก็ยังคงให้ พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล มีตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติต่อไปได้ เพียงแต่ไม่มีสิทธิ์ในการบริหารงาน[[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ]] เช่นเดียวกับกรณีของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ที่ยังมีตำแหน่งรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติตามเดิม โดยที่นายกรัฐมนตรีให้สัมภาษณ์กับสื่อว่า '''"ถ้ามีการสอบสวนแล้วไม่มีมูลความผิด ก็จะให้ทั้งคู่กลับมาในสำนักงานตำรวจแห่งชาติตามปกติ"''' <ref>{{Cite web|last=Thosapol|date=2024-03-20|title=นายกฯ เศรษฐา สั่งแต่งตั้ง "บิ๊กต่าย" ดำรงตำแหน่ง รักษาการ ผบ.ตร.|url=https://thethaiger.com/th/news/1101372/|website=Thaiger ข่าวไทย|language=th}}</ref> และในช่วงเที่ยงของวันเดียวกันนี้ พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล และ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ได้ตั้งโต๊ะแถลงข่าวขอยุติความขัดแย้งกับคดีนี้ และจะทำหน้าที่ในการปฏิบัติงานช่วยราชการ ฯ ตามคำสั่งของนายกรัฐมนตรีต่อไป <ref> [https://www.thairath.co.th/scoop/theissue/2772008 หวานเจี๊ยบ! "บิ๊กต่อ" จับมือ "บิ๊กโจ๊ก" ส่งคดีเว็บพนันทั้งหมดให้ ป.ป.ช. ถอนฟ้องสัญญาลูกผู้ชาย] </ref>
พล.ต.อ. สุรเชษฐ์ ได้เกิดความขัดแย้งกับ พล.ต.อ.[[ต่อศักดิ์ สุขวิมล]] [[รายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย|ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ]] สืบเนื่องจากเหตุที่ถูกเปิดโปงในกรณีที่ตำรวจชั้นผู้น้อยซึ่งเป็นกำลังพลของตน ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับคดี'''''[[เว็บพนันทางออนไลน์]]''''' ตั้งแต่ต้นเดือนกันยายน พ.ศ. 2566 และยังมีการโยงมาถึง พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีเว็บพนันออนไลน์ในเวลาต่อมา จึงทำให้กองกำลังตำรวจของ[[กองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี]] (ตำรวจไซเบอร์) เข้าบุกค้นที่พักอาศัยของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2566 และเมื่อช่วงต้นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2567 พล.ต.ต.[[จรูญเกียรติ ปานแก้ว]] [[กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง|รองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง]] ได้ออกมาพูดถึงกรณีคดีเว็บพนันนออนไลน์อีกครั้งและเป็นการออกมาพูดเพื่อยืนยันถึงเส้นทางการเงินของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ว่ามีความเกี่ยวข้องกับคดีเว็บพนันออนไลน์จริง โดยเป็นฐานความผิดร่วมกันฟอกเงิน จนทำให้เกิดความขัดแย้งกันระหว่าง พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ และ พล.ต.ต.จรูญเกียรติ ในเวลาต่อมา พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล ได้เข้ามาขอยุติความขัดแย้งของทั้ง 2 ฝ่าย แต่เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2567 ทีมทนายความประจำตัวของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ได้ตั้งโต๊ะแถลงข่าวออกมาเปิดโปงเกี่ยวกับการดำเนินคดีเว็บพนันออนไลน์ และได้มีการโยงไปถึง พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีนี้ด้วย จนเกิดเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันระหว่าง พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ กับ ทีมทนายความของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ จึงเป็นเหตุให้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม นาย[[เศรษฐา ทวีสิน]] [[รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]]ในขณะนั้น มีคำสั่งให้ พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ และ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ เข้าพบที่[[ตึกไทยคู่ฟ้า]] [[ทำเนียบรัฐบาล]] เพื่อพูดคุยปัญหาปมขัดแย้ง และรายงานข้อมูลคดีเว็บพนันทางออนไลน์ที่ทั้งคู่กำลังเป็นประเด็น โดยใช้เวลาประมาณ 20 นาที<ref>{{Cite web|last=https://www.pptvhd36.com|date=2024-03-21|title=สรุปไทม์ไลน์ เด้งแพ็กคู่ "บิ๊กต่อ-บิ๊กโจ๊ก" เข้ากรุ สำนักนายกรัฐมนตรี|url=https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1/219913|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref> แต่ในเมื่อพูดคุยสอบถามแล้วยังไม่เป็นผล นายกรัฐมนตรีจึงลงนามในคำสั่งด่วนที่สุด ให้ทั้งคู่มาปฏิบัติงานช่วยราชการที่[[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)|สำนักนายกรัฐมนตรี]]เป็นเวลา 60 วัน (2 เดือน) เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเพื่อเป็นการสอบสวนหาข้อเท็จจริงในคราวเดียวกัน จากนั้น นายกรัฐมนตรีมีคำสั่งแต่งตั้ง พล.ต.อ.[[กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์]] รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนที่ 2 ขึ้นมาดำรงตำแหน่งรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติแทน แต่ก็ยังคงให้ พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล มีตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติต่อไปได้ เพียงแต่ไม่มีสิทธิ์ในการบริหารงาน[[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ]] เช่นเดียวกับกรณีของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ที่ยังมีตำแหน่งรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติตามเดิม โดยที่นายกรัฐมนตรีให้สัมภาษณ์กับสื่อว่า '''"ถ้ามีการสอบสวนแล้วไม่มีมูลความผิด ก็จะให้ทั้งคู่กลับมาในสำนักงานตำรวจแห่งชาติตามปกติ"''' <ref>{{Cite web|last=Thosapol|date=2024-03-20|title=นายกฯ เศรษฐา สั่งแต่งตั้ง "บิ๊กต่าย" ดำรงตำแหน่ง รักษาการ ผบ.ตร.|url=https://thethaiger.com/th/news/1101372/|website=Thaiger ข่าวไทย|language=th}}</ref> และในช่วงเที่ยงของวันเดียวกันนี้ พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล และ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ได้ตั้งโต๊ะแถลงข่าวขอยุติความขัดแย้งกับคดีนี้ และจะทำหน้าที่ในการปฏิบัติงานช่วยราชการ ฯ ตามคำสั่งของนายกรัฐมนตรีต่อไป <ref> [https://www.thairath.co.th/scoop/theissue/2772008 หวานเจี๊ยบ! "บิ๊กต่อ" จับมือ "บิ๊กโจ๊ก" ส่งคดีเว็บพนันทั้งหมดให้ ป.ป.ช. ถอนฟ้องสัญญาลูกผู้ชาย] </ref>


=== การถูกออกหมายจับ ===
=== การถูกออกหมายจับ ===
เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2567 พนักงานสอบสวน[[กองบัญชาการตำรวจนครบาล]] เดินทางมายื่นคำร้องขอต่อ[[ศาลอาญา (ประเทศไทย)|ศาลอาญา]] [[ถนนรัชดาภิเษก]] เพื่ออนุมัติออกหมายจับ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ในความผิดฐาน '''"สมคบโดยการตกลงกันตั้งแต่สองคนขึ้นไปเพื่อกระทำความผิดฐานฟอกเงินและได้มีการทำผิดฐานฟอกเงินเพราะเหตุผลที่ได้มีการสมคบกัน และเป็นเจ้าพนักงานร่วมกันฟอกเงิน ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 5, 9, 10 สืบเนื่องจากคดีเว็บพนันออนไลน์ BNK Master"'''<ref>{{Cite web|last=Aindravudh|date=2024-04-02|title=ด่วนที่สุด ศาลอนุมัติ หมายจับ "บิ๊กโจ๊ก" คดีฟอกเงิน|url=https://thethaiger.com/th/news/1111913/|website=Thaiger ข่าวไทย|language=th}}</ref> จากนั้น พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ได้มีการเดินทางไปมอบตัวตามกำหนด เมื่อเวลาประมาณ 20.00 น. ที่สถานีตำรวจนครบาลเตาปูน [[เขตบางซื่อ]] และได้รับการประกันตัว โดยให้เหตุผลในการขอประกันตัวว่า ''ขอต่อสู้คดีตามกระบวนการยุติธรรม'' <ref> [https://news.ch7.com/detail/717368 บิ๊กโจ๊ก ไม่กังวลการเป็นผู้ต้องหา ปัดตอบรายละเอียดในสำนวน] </ref> ต่อมาในวันที่ 18 เมษายน 2567 [[เศรษฐา ทวีสิน]] นายกรัฐมนตรี มีคำสั่งให้พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ออกจากราชการไว้ก่อน<ref>https://www.matichon.co.th/local/crime/news_4531926 สะพัดหลัง ‘บิ๊กต่าย’ เข้าพบนายกฯ เสนอให้ ‘บิ๊กโจ๊ก’ ออกจากราชการไว้ก่อน... </ref><ref>{{Cite web|date=2024-04-18|title=สะพัดหนักมาก 'นายกฯ' ลงนามให้ 'บิ๊กโจ๊ก' ออกจากราชการไว้ก่อน|url=https://www.komchadluek.net/news/crime/573158|website=komchadluek|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|last=ฐานเศรษฐกิจ|date=2024-04-18|title=เจาะกระแสร้อน "บิ๊กโจ๊ก" เทียบความต่าง ปลดออก ให้ออก ไล่ออก จากราชการ|url=https://www.thansettakij.com/news/593843|website=thansettakij|language=th-TH}}</ref> พร้อมกับนายตำรวจอีก 4 คน<ref>{{Cite web|date=2024-04-18|title=ไปเป็นแพ็ค“บิ๊กต่าย”ให้“บิ๊กโจ๊ก”พร้อม 4 ลูกน้องตำรวจออกจากราชการไว้ก่อน|url=https://www.thansettakij.com/politics/593857|website=thansettakij|language=th-TH}}</ref>โดยมี พล.ต.อ. [[กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์]] ทำหน้าที่เซ็นคำสั่ง ในฐานะ รักษาการผู้บัญชาการตำรวจ<ref>{{Cite web|date=2024-04-18|title='บิ๊กต่าย'ยันเซ็นต์คำสั่งให้ 'บิ๊กโจ๊ก' พ่วง 4 นายตำรวจ ออกราชการไว้ก่อน|url=https://www.bangkokbiznews.com/politics/1122806|website=bangkokbiznews|language=th}}</ref> โดยสาเหตุเนื่องจากถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดทางวินัยเกี่ยวกับพนันออนไลน์ จนถูกออกหมายจับ จึงอาศัยอำนาจตามพรบ ตำรวจแห่งชาติ ที่ให้ออกราชการไว้ก่อนเพื่อรอผลสอบสวน<ref>{{Cite web|last=https://www.pptvhd36.com|date=2024-04-18|title=ออกจากราชการ! ปิดฉาก "บิ๊กโจ๊ก" หวานเจี๊ยบ แมว 9 ชีวิต ?|url=https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1/221942|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref> โดยพล.ต.อ. สุรเชษฐ์ ยังสามารถอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวได้ โดยอุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการคัดเลือกกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมข้าราชการตำรวจ <ref>https://www.matichon.co.th/local/crime/news_4532167 นายกฯ ส่งตัว ‘บิ๊กโจ๊ก’ กลับตร. ‘บิ๊กต่าย’ เซ็นให้พ้นราชการทันที... </ref>
เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2567 พนักงานสอบสวน[[กองบัญชาการตำรวจนครบาล]] เดินทางมายื่นคำร้องขอต่อ[[ศาลอาญา (ประเทศไทย)|ศาลอาญา]] [[ถนนรัชดาภิเษก]] เพื่ออนุมัติออกหมายจับ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ในความผิดฐาน '''"สมคบโดยการตกลงกันตั้งแต่สองคนขึ้นไปเพื่อกระทำความผิดฐานฟอกเงินและได้มีการทำผิดฐานฟอกเงินเพราะเหตุผลที่ได้มีการสมคบกัน และเป็นเจ้าพนักงานร่วมกันฟอกเงิน ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 5, 9, 10 สืบเนื่องจากคดีเว็บพนันออนไลน์ BNK Master"'''<ref>{{Cite web|last=Aindravudh|date=2024-04-02|title=ด่วนที่สุด ศาลอนุมัติ หมายจับ "บิ๊กโจ๊ก" คดีฟอกเงิน|url=https://thethaiger.com/th/news/1111913/|website=Thaiger ข่าวไทย|language=th}}</ref> จากนั้น พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ได้มีการเดินทางไปมอบตัวตามกำหนด เมื่อเวลาประมาณ 20.00 น. ที่สถานีตำรวจนครบาลเตาปูน [[เขตบางซื่อ]] และได้รับการประกันตัว โดยให้เหตุผลในการขอประกันตัวว่า ''ขอต่อสู้คดีตามกระบวนการยุติธรรม'' <ref> [https://news.ch7.com/detail/717368 บิ๊กโจ๊ก ไม่กังวลการเป็นผู้ต้องหา ปัดตอบรายละเอียดในสำนวน] </ref> ต่อมาในวันที่ 18 เมษายน 2567 [[เศรษฐา ทวีสิน]] นายกรัฐมนตรี มีคำสั่งให้พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ออกจากราชการไว้ก่อน<ref>https://www.matichon.co.th/local/crime/news_4531926 สะพัดหลัง ‘บิ๊กต่าย’ เข้าพบนายกฯ เสนอให้ ‘บิ๊กโจ๊ก’ ออกจากราชการไว้ก่อน... </ref><ref>{{Cite web|date=2024-04-18|title=สะพัดหนักมาก 'นายกฯ' ลงนามให้ 'บิ๊กโจ๊ก' ออกจากราชการไว้ก่อน|url=https://www.komchadluek.net/news/crime/573158|website=komchadluek|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|last=ฐานเศรษฐกิจ|date=2024-04-18|title=เจาะกระแสร้อน "บิ๊กโจ๊ก" เทียบความต่าง ปลดออก ให้ออก ไล่ออก จากราชการ|url=https://www.thansettakij.com/news/593843|website=thansettakij|language=th-TH}}</ref> พร้อมกับนายตำรวจอีก 4 คน<ref>{{Cite web|date=2024-04-18|title=ไปเป็นแพ็ค“บิ๊กต่าย”ให้“บิ๊กโจ๊ก”พร้อม 4 ลูกน้องตำรวจออกจากราชการไว้ก่อน|url=https://www.thansettakij.com/politics/593857|website=thansettakij|language=th-TH}}</ref>โดยมี พล.ต.อ. [[กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์]] ทำหน้าที่เซ็นคำสั่ง ในฐานะ รักษาการผู้บัญชาการตำรวจ<ref>{{Cite web|date=2024-04-18|title='บิ๊กต่าย'ยันเซ็นต์คำสั่งให้ 'บิ๊กโจ๊ก' พ่วง 4 นายตำรวจ ออกราชการไว้ก่อน|url=https://www.bangkokbiznews.com/politics/1122806|website=bangkokbiznews|language=th}}</ref> โดยสาเหตุเนื่องจากถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดทางวินัยเกี่ยวกับพนันออนไลน์ จนถูกออกหมายจับ จึงอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ ที่ให้ออกราชการไว้ก่อนเพื่อรอผลสอบสวน<ref>{{Cite web|last=https://www.pptvhd36.com|date=2024-04-18|title=ออกจากราชการ! ปิดฉาก "บิ๊กโจ๊ก" หวานเจี๊ยบ แมว 9 ชีวิต ?|url=https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1/221942|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref> โดยพล.ต.อ. สุรเชษฐ์ ยังสามารถอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวได้ โดยอุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการคัดเลือกกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมข้าราชการตำรวจ <ref>https://www.matichon.co.th/local/crime/news_4532167 นายกฯ ส่งตัว ‘บิ๊กโจ๊ก’ กลับตร. ‘บิ๊กต่าย’ เซ็นให้พ้นราชการทันที... </ref>

กระทั่งวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2567 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้พลตำรวจเอกสุรเชชษฐ์พ้นจากตำแหน่งรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติโดยให้มีผลนับตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2567<ref>{{cite news|URL=https://www.thairath.co.th/news/politic/2808197|title=โปรดเกล้าฯ ให้ “บิ๊กโจ๊ก-สุรเชชษฐ์ หักพาล” พ้นจากรอง ผบ.ตร. แล้ว|publisher=[[ไทยรัฐ]]}}</ref>


== ชีวิตส่วนตัว ==
== ชีวิตส่วนตัว ==
พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ สมรสกับ ดร.ศิรินัดดา หักพาล กรรมการบริษัท ระโนดเดินรถ จำกัด ซึ่งเป็นกิจการรถโดยสาร และไม่มีบุตรด้วยกัน <ref> [https://www.amarintv.com/news/detail/189474 รู้จัก ดร.ศิรินัดดา หักพาล ลูกสาวเศรษฐีปักษ์ใต้ ผู้กุมหัวใจ "บิ๊กโจ๊ก" ในฐานะภรรยา] </ref>
พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ สมรสกับ ดร.ศิรินัดดา หักพาล (ชื่อเล่น: กุ๊บกิ๊บ, สกุลเดิม: พานิชพงศ์) กรรมการบริษัท ระโนดเดินรถ จำกัด ซึ่งเป็นกิจการรถโดยสาร และไม่มีบุตรด้วยกัน <ref> [https://www.amarintv.com/news/detail/189474 รู้จัก ดร.ศิรินัดดา หักพาล ลูกสาวเศรษฐีปักษ์ใต้ ผู้กุมหัวใจ "บิ๊กโจ๊ก" ในฐานะภรรยา] </ref>


พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ รู้จักกับภรรยาตั้งแต่สมัยกำลังศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษา  โดยบิ๊กโจ๊กศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา และ ดร.ศิรินัดดา หักพาล ศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลาเช่นเดียวกัน<ref>{{Cite web|last=S|first=Danita|date=2023-09-27|title=ประวัติ 'ดร.ศิรินัดดา หักพาล' ภรรยาบิ๊กโจ๊ก ย้อนเส้นทางรักแรก รักเดียวสมัยเรียน|url=https://thethaiger.com/th/news/951861/|website=Thaiger ข่าวไทย|language=th}}</ref>
พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ รู้จักกับภรรยาตั้งแต่สมัยกำลังศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษา โดยบิ๊กโจ๊กศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา และ ดร.ศิรินัดดา หักพาล ศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลาเช่นเดียวกัน<ref>{{Cite web|last=S|first=Danita|date=2023-09-27|title=ประวัติ 'ดร.ศิรินัดดา หักพาล' ภรรยาบิ๊กโจ๊ก ย้อนเส้นทางรักแรก รักเดียวสมัยเรียน|url=https://thethaiger.com/th/news/951861/|website=Thaiger ข่าวไทย|language=th}}</ref>


== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:47, 27 พฤศจิกายน 2567

สุรเชชษฐ์​ หัก​พาล
รองผู้​บัญชาการ​ตำรวจ​แห่งชาติ​
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม​ พ.ศ. 2565 – 15 สิงหาคม พ.ศ. 2567
(1 ปี 319 วัน)
ดำรงตำแหน่งร่วมกับ
สราวุฒิ การพานิช
ธนา ชูวงศ์
(พ.ศ. 2566–2567)
รอย อิงคไพโรจน์
กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์
(พ.ศ. 2565-2567)
ชินภัทร สารสิน
ต่อศักดิ์ สุขวิมล
(พ.ศ. 2565–2566)
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
สุรเชษฐ์ หักพาล

29 ตุลาคม พ.ศ. 2513 (54 ปี)
อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ประเทศไทย
คู่สมรสศิรินัดดา หักพาล
บุพการี
  • ไสว หักพาล (บิดา)
  • สุมิตรา หักพาล (มารดา)
การศึกษามหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย[1]
ศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร
โรงเรียนนายร้อยตำรวจ
มหาวิทยาลัยมหิดล
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ไทย
สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ประจำการพ.ศ. 2537 – 2562
พ.ศ. 2564 – 2567
ยศ พลตํารวจเอก

พลตํารวจเอก สุรเชชษฐ์ หักพาล[2]ป.ช. ป.ม. (ชื่อเกิด: สุรเชษฐ์ หักพาล; เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2513) ชื่อเล่น โจ๊ก เป็นตำรวจชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ด้านสืบสวนสอบสวน, ความมั่นคง) เคยช่วยราชการที่สำนักนายกรัฐมนตรี[3]

ประวัติ

[แก้]

พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ เกิดเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2513 ที่ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เป็นบุตรของนายดาบตำรวจ ไสว และนางสุมิตรา หักพาล สำเร็จการศึกษาในชั้นอนุบาล โรงเรียนกลับเพชรศึกษาซึ่งมารดาเป็นครูสอนอยู่โรงเรียนนี้ สำเร็จการศึกษาในชั้นประถม โรงเรียนวิเชียรชม สำเร็จการศึกษาในชั้น มัธยมศึกษาจากโรงเรียนมหาวชิราวุธ และโรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 31 ระดับชั้นปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 47 เป็นหัวหน้านักเรียนของนรต.รุ่น47 ระดับปริญญาโท สังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม จากมหาวิทยาลัยมหิดล โดยสามารถสอบคัดเลือกเข้าเรียนได้เป็นอันดับ 1 และระดับปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย และระดับ ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล [1][4] จบการศึกษา คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคค่ำ (นอกเวลาราชการ) หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน นอกจากนี้

พล.ต.อ สุรเชชษฐ์ หักพาล ยังจบหลักสูตร และ รับมอบประกาศเกียรติบัตร ผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 21 (ปปร.21) จาก พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ ประธานองคมนตรี จบหลักสูตร พตส พัฒนาการเมืองและการเลือกตั้งรุ่นที่14

ในวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2565 เขาได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่นสถาบันพระปกเกล้า จากชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภาไทยในขณะนั้น ปัจจุบันสำเร็จการศึกษา วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร ว.ป.อ.ปีการศึกษา 2565

สำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org) รายงานว่า วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 เว็บไซต์ศาลปกครอง เผยแพร่ประกาศมูลนิธิวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางปกครอง เรื่อง รายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกเข้ารับการอบรม กำหนดการลงทะเบียนและกำหนดการอบรม หลักสูตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ที่ได้รับการรับรองจาก ก.ศป.แล้ว) รุ่นที่ 15 จำนวน 149 คน ปรากฎมีรายชื่อ พลตำรวจเอก สุรเชษฐ์ หรือ สุรเชชษฐ์ หักพาล อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นผู้ได้รับการคัดเลือกเข้ารับการอบรมดังกล่าวด้วย

การทำงาน

[แก้]

เริ่มต้นรับราชการตำรวจ

[แก้]

ร.ต.ต. สุรเชษฐ์ ในขณะนั้น เริ่มรับราชการตำรวจในตำแหน่งรองสารวัตร เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 จนได้รับการแต่งตั้งเลื่อนขั้นเป็นสารวัตรในกองวินัย ต่อมาเป็นสารวัตรสถานีตำรวจทางหลวง 4 กองกำกับการ 5 จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 และสารวัตรสถานีตำรวจทางหลวง 2 กองกำกับการ 3 จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 จนได้รับการโปรดเกล้าฯ เป็นนายตำรวจราชสำนักประจำ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2546[5] และเป็นผู้ช่วยนายเวรตำรวจราชสำนักประจำให้กับ พล.ต.อ. วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547[6][7]

ระดับผู้กำกับการ

[แก้]

หลังจากได้รับการเลื่อนขั้นเป็นพันตำรวจเอก พันตำรวจเอก สุรเชษฐ์ ในขณะนั้น ได้รับตำแหน่งผู้กำกับการประจำสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ทำหน้าที่อำนวยการประจำผู้ช่วยผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ[7] จนกระทั่งวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2552 จึงได้เป็นผู้กำกับการ 1 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์[6] ต่อมาเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ได้เป็นผู้กำกับการฝ่ายอำนวยการ 10 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2555 ถูกส่งไปเป็นผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรหาดใหญ่ จนได้เลื่อนขึ้นเป็นรองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสงขลา[7] และทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการศูนย์ปฏิบัติการณ์ตำรวจภูธรจังหวัดสงขลาส่วนหน้า รับผิดชอบพื้นที่ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลาที่เป็น 'พื้นที่สีแดง' เสี่ยงต่อภัยความไม่สงบบริเวณชายแดนภาคใต้[8]

ระดับผู้บังคับการและผู้บัญชาการ

[แก้]

ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 พันตำรวจเอก สุรเชษฐ์ ในขณะนั้นได้รับการเลื่อนขั้นเป็นพลตำรวจตรี ในตำแหน่งผู้บังคับการประจำสำนักงานตำรวจแห่งชาติ[9][10]ทำหน้าที่ประสานงานกับนายกรัฐมนตรี รายงานต่อ พล.อ. ประวิตร วงศ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ผู้รับผิดชอบสำนักงานตำรวจแห่งชาติในขณะนั้น หลังจากนั้นทำหน้าที่รักษาการในตำแหน่งนี้มาตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557[7][8] จนในวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ได้เป็นผู้บังคับการตำรวจท่องเที่ยว[11]จนกระทั่งวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ได้เป็นผู้บังคับการตำรวจสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ[12]จนกระทั่งวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2560 เข้ามาทำหน้าที่รักษาการรองผู้บัญชาการตำรวจท่องเที่ยว จนได้เป็นรองผู้บัญชาการตำรวจท่องเที่ยวในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560[13]จนวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 พลตำรวจตรี สุรเชษฐ์ ในขณะนั้นได้รับการเลื่อนขั้นเป็นพลตำรวจโท และได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง[14][15]

คำสั่งย้าย

[แก้]

ในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2562 ได้มีคำสั่งจาก พล.ต.อ. จักรทิพย์ ชัยจินดา ผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ให้ พล.ต.ท. สุรเชษฐ์ ไปปฏิบัติราชการที่ศูนย์ปฏิบัติการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยขาดจากการปฏิบัติหน้าที่ทางตำแหน่งเดิม เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการสำนักงานตำรวจแห่งชาติมอบหมาย จนวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2562 ได้มีคำสั่งจาก พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ โดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 44 ในรัฐธรรมนูญให้ พล.ต.ท. สุรเชษฐ์ ขาดจากตำแหน่งหน้าที่ในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อโอนไปเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ประเภทนักบริหารระดับสูง ในตำแหน่งที่ปรึกษาพิเศษประจำสำนักนายกรัฐมนตรี สังกัดสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี[6][7] และให้ถูกเพิ่มรายชื่อในบัญชีรายชื่อเพิ่มเติมตามคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 16/2558 เพื่อได้รับการตรวจสอบจากสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ และสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เนื่องด้วยมีมูลกรณี เมื่อถูกกล่าวหาว่าเกี่ยวข้องกับการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ ทำให้เสียหายแก่ทางราชการหรือทำให้ประชาชนเดือดร้อน[16]

ในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2563 รถยนต์ส่วนตัวของ พล.ต.ท. สุรเชษฐ์ ถูกยิง ณ บริเวณถนนสุรวงศ์ เขตบางรัก กทม. โดยในขณะนั้น พล.ต.ท. สุรเชษฐ์ ไม่ได้อยู่ภายในรถ[17] โดย พล.ต.ท. สุรเชษฐ์ รวมถึงสื่อหลายแห่งได้ตั้งข้อสังเกตว่าเหตุการณ์นี้อาจมีความเกี่ยวข้องกับกรณีที่ พล.ต.ท. สุรเชษฐ์ ได้ออกมาชี้แจงเกี่ยวกับความผิดปกติในโครงการจัดซื้อจัดจ้างเครื่องตรวจสอบและพิสูจน์อัตลักษณ์และโครงการจัดซื้อจัดจ้างรถตรวจการณ์ไฟฟ้าของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง โดยกล่าวหาว่าบริษัทผู้รับจ้างไม่สามารถส่งมอบงานได้ตามกำหนด แต่ สตช. ตรวจรับงานไว้ก่อน ทำให้ผู้รับจ้างไม่ต้องเสียค่าปรับ[18][19][20] ในขณะอีกส่วนหนึ่งก็ตั้งข้อสงสัยว่าอาจจะเป็นการจัดฉากโดย พล.ต.ท. สุรเชษฐ์เอง[21]

ในวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2563 ได้มีคำสั่งจากนายกรัฐมนตรี ได้กำชับให้ พล.ต.ท. สุรเชษฐ์ ในฐานะที่ปรึกษาพิเศษประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รักษาจรรยาและวินัยข้าราชการ โดยนายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรีได้กล่าวว่าคำสั่งนี้ออกมาเนื่องจากมีการร้องเรียน จึงต้องเตือนไว้ก่อน[22]

ในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2563 พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ ยื่นหนังสือลากิจเพื่อขอบวชที่วัดไทยพุทธคยา ประเทศอินเดีย เป็นเวลา 9 วัน[23] และกลับมาปฏิบัติหน้าที่ตามปกติในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ 2563[24]

ในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2563 พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ ยื่นฟ้อง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ต่อศาลปกครองกลาง เรื่องคำสั่งโยกย้ายที่ไม่เป็นธรรม กรณีถูกย้ายจาก ผบช.สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง มาดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาพิเศษประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ต่อมาศาลปกครองกลางมีคำสั่งในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ไม่รับคำฟ้องและจำหน่ายคดีออก เนื่องจาก พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ ได้มีหนังสือถึงนายกรัฐมนตรีและปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีในวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ขอให้พิจารณามีคำสั่งกลับไปปฏิบัติหน้าที่ราชการดังเดิม แต่ยังไม่พ้นกำหนด 90 วันนับตั้งแต่วันที่นายกรัฐมนตรีและปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้รับหนังสือ จึงถือว่า พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ ยังไม่ได้เป็นผู้ได้รับความเดือดร้อนตามที่ได้ยื่นฟ้องศาลไว้ เพราะยังอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของนายกรัฐมนตรี[25][26]

การกลับมาเป็นข้าราชการตำรวจ

[แก้]

เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2564 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พล.ต.ท. สุรเชษฐ์ หักพาล ข้าราชการพลเรือนสามัญ ซึ่งคณะกรรมการข้าราชการตำรวจมีมติเห็นชอบให้รับโอนมาบรรจุเป็นข้าราชการตำรวจ พ้นจากตำแหน่ง ที่ปรึกษาพิเศษประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นักบริหารระดับสูง) สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษา (สบ.9) เทียบเท่าผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2564[27][28] เมื่อวันที่ 10 ก.ย.พ.ศ. 2564 ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการตำรวจ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งข้าราชการตำรวจให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ จำนวน 273 ราย ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ยกเว้นลำดับที่ 169 ตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป โดย พล.ต.ท. สุรเชษฐ์ หักพาล เลื่อนจาก ที่ปรึกษา (สบ 9) สตช. ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็น ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ

ขณะดำรงตำแหน่งรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติใน วันที่ 6 ตุลาคม 2565 เขาลงพื้นที่พร้อมกับ พลตำรวจเอก ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ พลตำรวจโท สำราญ นวลมา เพื่อตรวจสอบเหตุกราดยิงที่จังหวัดหนองบัวลำภู พ.ศ. 2565

คดีกำนันนก

[แก้]

ช่วงปี พ.ศ. 2566 พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ได้ทำการสอบสวนคดี "กำนันนก" หรือ นายประวีณ จันทร์คล้าย ซึ่งเกิดเหตุเมื่อวันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ 2566 ที่ตำบลตาก้อง อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม หลังจากที่ นายธนัญชัย หมั่นมาก หรือ หน่อง ท่าผา อายุ 45 ปี ผู้ก่อเหตุที่ทำการยิง พ.ต.ต.ศิวกร สายบัว จำนวน 7 นัด ในขณะร่วมงานเลี้ยงที่บ้านของกำนันนก โดยช่วงแรก พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ อยู่ในฐานะหัวหน้าชุดสืบสวนสอบสวน ก่อนที่ พล.ต.อ.ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ(ในขณะนั้น) ได้สั่งการให้โอนคดีความไปยังกองบัญชาการตำรวจสอบสวนการ [29]

กรณีเว็บพนันออนไลน์และคำสั่งย้ายเข้าช่วยราชการสำนักนายกรัฐมนตรี

[แก้]

พล.ต.อ. สุรเชษฐ์ ได้เกิดความขัดแย้งกับ พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ สืบเนื่องจากเหตุที่ถูกเปิดโปงในกรณีที่ตำรวจชั้นผู้น้อยซึ่งเป็นกำลังพลของตน ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีเว็บพนันทางออนไลน์ ตั้งแต่ต้นเดือนกันยายน พ.ศ. 2566 และยังมีการโยงมาถึง พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีเว็บพนันออนไลน์ในเวลาต่อมา จึงทำให้กองกำลังตำรวจของกองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ตำรวจไซเบอร์) เข้าบุกค้นที่พักอาศัยของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2566 และเมื่อช่วงต้นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2567 พล.ต.ต.จรูญเกียรติ ปานแก้ว รองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง ได้ออกมาพูดถึงกรณีคดีเว็บพนันนออนไลน์อีกครั้งและเป็นการออกมาพูดเพื่อยืนยันถึงเส้นทางการเงินของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ว่ามีความเกี่ยวข้องกับคดีเว็บพนันออนไลน์จริง โดยเป็นฐานความผิดร่วมกันฟอกเงิน จนทำให้เกิดความขัดแย้งกันระหว่าง พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ และ พล.ต.ต.จรูญเกียรติ ในเวลาต่อมา พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล ได้เข้ามาขอยุติความขัดแย้งของทั้ง 2 ฝ่าย แต่เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2567 ทีมทนายความประจำตัวของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ได้ตั้งโต๊ะแถลงข่าวออกมาเปิดโปงเกี่ยวกับการดำเนินคดีเว็บพนันออนไลน์ และได้มีการโยงไปถึง พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีนี้ด้วย จนเกิดเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันระหว่าง พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ กับ ทีมทนายความของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ จึงเป็นเหตุให้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น มีคำสั่งให้ พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ และ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ เข้าพบที่ตึกไทยคู่ฟ้า ทำเนียบรัฐบาล เพื่อพูดคุยปัญหาปมขัดแย้ง และรายงานข้อมูลคดีเว็บพนันทางออนไลน์ที่ทั้งคู่กำลังเป็นประเด็น โดยใช้เวลาประมาณ 20 นาที[30] แต่ในเมื่อพูดคุยสอบถามแล้วยังไม่เป็นผล นายกรัฐมนตรีจึงลงนามในคำสั่งด่วนที่สุด ให้ทั้งคู่มาปฏิบัติงานช่วยราชการที่สำนักนายกรัฐมนตรีเป็นเวลา 60 วัน (2 เดือน) เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเพื่อเป็นการสอบสวนหาข้อเท็จจริงในคราวเดียวกัน จากนั้น นายกรัฐมนตรีมีคำสั่งแต่งตั้ง พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนที่ 2 ขึ้นมาดำรงตำแหน่งรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติแทน แต่ก็ยังคงให้ พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล มีตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติต่อไปได้ เพียงแต่ไม่มีสิทธิ์ในการบริหารงานสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เช่นเดียวกับกรณีของ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ที่ยังมีตำแหน่งรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติตามเดิม โดยที่นายกรัฐมนตรีให้สัมภาษณ์กับสื่อว่า "ถ้ามีการสอบสวนแล้วไม่มีมูลความผิด ก็จะให้ทั้งคู่กลับมาในสำนักงานตำรวจแห่งชาติตามปกติ" [31] และในช่วงเที่ยงของวันเดียวกันนี้ พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล และ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ได้ตั้งโต๊ะแถลงข่าวขอยุติความขัดแย้งกับคดีนี้ และจะทำหน้าที่ในการปฏิบัติงานช่วยราชการ ฯ ตามคำสั่งของนายกรัฐมนตรีต่อไป [32]

การถูกออกหมายจับ

[แก้]

เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2567 พนักงานสอบสวนกองบัญชาการตำรวจนครบาล เดินทางมายื่นคำร้องขอต่อศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก เพื่ออนุมัติออกหมายจับ พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ในความผิดฐาน "สมคบโดยการตกลงกันตั้งแต่สองคนขึ้นไปเพื่อกระทำความผิดฐานฟอกเงินและได้มีการทำผิดฐานฟอกเงินเพราะเหตุผลที่ได้มีการสมคบกัน และเป็นเจ้าพนักงานร่วมกันฟอกเงิน ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 5, 9, 10 สืบเนื่องจากคดีเว็บพนันออนไลน์ BNK Master"[33] จากนั้น พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ได้มีการเดินทางไปมอบตัวตามกำหนด เมื่อเวลาประมาณ 20.00 น. ที่สถานีตำรวจนครบาลเตาปูน เขตบางซื่อ และได้รับการประกันตัว โดยให้เหตุผลในการขอประกันตัวว่า ขอต่อสู้คดีตามกระบวนการยุติธรรม [34] ต่อมาในวันที่ 18 เมษายน 2567 เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี มีคำสั่งให้พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ ออกจากราชการไว้ก่อน[35][36][37] พร้อมกับนายตำรวจอีก 4 คน[38]โดยมี พล.ต.อ. กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ ทำหน้าที่เซ็นคำสั่ง ในฐานะ รักษาการผู้บัญชาการตำรวจ[39] โดยสาเหตุเนื่องจากถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดทางวินัยเกี่ยวกับพนันออนไลน์ จนถูกออกหมายจับ จึงอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ ที่ให้ออกราชการไว้ก่อนเพื่อรอผลสอบสวน[40] โดยพล.ต.อ. สุรเชษฐ์ ยังสามารถอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวได้ โดยอุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการคัดเลือกกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมข้าราชการตำรวจ [41]

กระทั่งวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2567 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้พลตำรวจเอกสุรเชชษฐ์พ้นจากตำแหน่งรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติโดยให้มีผลนับตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2567[42]

ชีวิตส่วนตัว

[แก้]

พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ สมรสกับ ดร.ศิรินัดดา หักพาล (ชื่อเล่น: กุ๊บกิ๊บ, สกุลเดิม: พานิชพงศ์) กรรมการบริษัท ระโนดเดินรถ จำกัด ซึ่งเป็นกิจการรถโดยสาร และไม่มีบุตรด้วยกัน [43]

พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ รู้จักกับภรรยาตั้งแต่สมัยกำลังศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษา โดยบิ๊กโจ๊กศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา และ ดร.ศิรินัดดา หักพาล ศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลาเช่นเดียวกัน[44]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

เชิงอรรถ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ jakdow
  2. "บิ๊กโจ๊ก เปลี่ยนชื่อใหม่ เพิ่ม ช. อีกหนึ่งตัว เป็น "สุรเชชษฐ์"". pptvhd36.com. 2024-07-30. สืบค้นเมื่อ 2024-09-30.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  3. "นายกฯสั่ง บิ๊กต่อ-บิ๊กโจ๊ก เข้ามาช่วยงานที่สำนักนายกฯ มอบบิ๊กต่าย นั่งรักษาการ". www.thairath.co.th. 2024-03-20.
  4. ชะตาชีวิต "นายพล" คนดัง "สุรเชษฐ์ หักพาล" ในเส้นทางสีกากีก่อนถูกสั่งย้ายด่วนเข้ากรุ
  5. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งนายตำรวจราชสำนัก (หน้า ๕)[ลิงก์เสีย]
  6. 6.0 6.1 6.2 ย้อนอ่าน เส้นทาง ‘พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ หักพาล’ ฉายา ‘โจ๊ก หวานเจี๊ยบ’ ก่อนเป็น ขรก.พลเรือน
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 เส้นทางชีวิต “บิ๊กโจ๊ก” พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ หักพาล
  8. 8.0 8.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ matichon1
  9. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศตำรวจ
  10. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการตำรวจ (หน้า ๑๐)
  11. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการตำรวจ (หน้า ๑๐)
  12. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการตำรวจ (หน้า ๑๓)
  13. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการตำรวจ (หน้า ๑๖)
  14. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศตำรวจชั้นนายพล
  15. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการตำรวจ (หน้า ๙)
  16. หัวหน้า คสช. ออกคำสั่งเด้ง "บิ๊กโจ๊ก" พ้น สตช. ไปเป็น ขรก. พลเรือน
  17. ระทึก ! บุกยิงรถ “บิ๊กโจ๊ก” พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ หักพาล[ลิงก์เสีย]
  18. “บิ๊กโจ๊ก” หักพาล ออกจากกรุทำเนียบ ท้ารบ “บิ๊กแป๊ะ”
  19. ไขปม บิ๊กแป๊ะ VS บิ๊กโจ๊ก เอาใจ 'นายยี้ห้อย' ปูทางการเมือง
  20. ยังไม่รู้มือยิงรถ ‘พล.ต.ท.สุรเชษฐ์’-ชุดสืบสอบบอก ‘บิ๊กโจ๊ก’ ไม่ห่วงรถเท่าไหร่ โยงแต่ไบโอแมตริกซ์
  21. เบื้องลึก เบื้องหลัง ยิงรถ “บิ๊กโจ๊ก”[ลิงก์เสีย]
  22. บิ๊กช้างย่องเงียบ ดอดรายงานตัว หึ่ง‘โจ๊ก’งานเข้า
  23. "อาชญากรรม | หนีร้อนไปพึ่งเย็น "บิ๊กโจ๊ก" ลาบวช ศึก "สีกากี" นี้วุ่นวายหนอ?". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-12. สืบค้นเมื่อ 2021-04-12.
  24. 'บิ๊กโจ๊ก' กลับจากบวชแล้ว รับงานใหม่ที่สำนักนายกฯ เรื่องข้อเสนอร้องทุกข์
  25. ศาลไม่รับฟ้องคดี"บิ๊กโจ๊ก"ฟ้องนายกฯ-ปลัด สปน.สั่งย้ายมิชอบ
  26. ศาลปกครองกลางไม่รับคำฟ้อง “บิ๊กโจ๊ก” ยื่นฟ้อง “บิ๊กตู่” กรณีคำสั่งย้าย
  27. "สุรเชษฐ์ หักพาล" เริ่มงานพรุ่งนี้ ย้อนประวัติสำนักปทุมวัน บิ๊กตร. ย้ายไป ย้ายกลับมาใหญ่กว่าเก่า ไม่ใช่คนแรก!
  28. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้ข้าราชการพลเรือนสามัญพ้นจากตำแหน่งและแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ
  29. "เปิดฉายา "แมวเก้าชีวิต" พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล ผ่านมรสุมมาแล้วนับไม่ถ้วน". Springnews. 23 April 2024. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-25. สืบค้นเมื่อ 2024-04-23. {{cite web}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  30. https://www.pptvhd36.com (2024-03-21). "สรุปไทม์ไลน์ เด้งแพ็กคู่ "บิ๊กต่อ-บิ๊กโจ๊ก" เข้ากรุ สำนักนายกรัฐมนตรี". pptvhd36.com. {{cite web}}: แหล่งข้อมูลอื่นใน |last= (help)
  31. Thosapol (2024-03-20). "นายกฯ เศรษฐา สั่งแต่งตั้ง "บิ๊กต่าย" ดำรงตำแหน่ง รักษาการ ผบ.ตร". Thaiger ข่าวไทย.
  32. หวานเจี๊ยบ! "บิ๊กต่อ" จับมือ "บิ๊กโจ๊ก" ส่งคดีเว็บพนันทั้งหมดให้ ป.ป.ช. ถอนฟ้องสัญญาลูกผู้ชาย
  33. Aindravudh (2024-04-02). "ด่วนที่สุด ศาลอนุมัติ หมายจับ "บิ๊กโจ๊ก" คดีฟอกเงิน". Thaiger ข่าวไทย.
  34. บิ๊กโจ๊ก ไม่กังวลการเป็นผู้ต้องหา ปัดตอบรายละเอียดในสำนวน
  35. https://www.matichon.co.th/local/crime/news_4531926 สะพัดหลัง ‘บิ๊กต่าย’ เข้าพบนายกฯ เสนอให้ ‘บิ๊กโจ๊ก’ ออกจากราชการไว้ก่อน...
  36. "สะพัดหนักมาก 'นายกฯ' ลงนามให้ 'บิ๊กโจ๊ก' ออกจากราชการไว้ก่อน". komchadluek. 2024-04-18.
  37. ฐานเศรษฐกิจ (2024-04-18). "เจาะกระแสร้อน "บิ๊กโจ๊ก" เทียบความต่าง ปลดออก ให้ออก ไล่ออก จากราชการ". thansettakij.
  38. "ไปเป็นแพ็ค"บิ๊กต่าย"ให้"บิ๊กโจ๊ก"พร้อม 4 ลูกน้องตำรวจออกจากราชการไว้ก่อน". thansettakij. 2024-04-18.
  39. "'บิ๊กต่าย'ยันเซ็นต์คำสั่งให้ 'บิ๊กโจ๊ก' พ่วง 4 นายตำรวจ ออกราชการไว้ก่อน". bangkokbiznews. 2024-04-18.
  40. https://www.pptvhd36.com (2024-04-18). "ออกจากราชการ! ปิดฉาก "บิ๊กโจ๊ก" หวานเจี๊ยบ แมว 9 ชีวิต ?". pptvhd36.com. {{cite web}}: แหล่งข้อมูลอื่นใน |last= (help)
  41. https://www.matichon.co.th/local/crime/news_4532167 นายกฯ ส่งตัว ‘บิ๊กโจ๊ก’ กลับตร. ‘บิ๊กต่าย’ เซ็นให้พ้นราชการทันที...
  42. "โปรดเกล้าฯ ให้ "บิ๊กโจ๊ก-สุรเชชษฐ์ หักพาล" พ้นจากรอง ผบ.ตร. แล้ว". ไทยรัฐ.
  43. รู้จัก ดร.ศิรินัดดา หักพาล ลูกสาวเศรษฐีปักษ์ใต้ ผู้กุมหัวใจ "บิ๊กโจ๊ก" ในฐานะภรรยา
  44. S, Danita (2023-09-27). "ประวัติ 'ดร.ศิรินัดดา หักพาล' ภรรยาบิ๊กโจ๊ก ย้อนเส้นทางรักแรก รักเดียวสมัยเรียน". Thaiger ข่าวไทย.
  45. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๔, เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๑ ข หน้า ๓๒๕, ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕
  46. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๐, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๗ ข หน้า ๑๗๓, ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐
  47. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๗ ข หน้า ๒๓, ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
  48. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา ประจำปี ๒๕๖๐, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๕๒ ข หน้า ๓, ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๐