ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอสตาดิโอเมโตรโปลิตาโน"
วรุฒ หิ่มสาใจ (คุย | ส่วนร่วม) ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
|||
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน) | |||
บรรทัด 33: | บรรทัด 33: | ||
}} |
}} |
||
'''เอสตาดิโอเมโตรโปลิตาโน''' ({{ |
'''เอสตาดิโอเมโตรโปลิตาโน''' ({{langx|es|Estadio Metropolitano}}) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''ซิบิตัสเมโตรโปลิตาโน''' ({{lang|es|Cívitas Metropolitano}}) ตามชื่อผู้สนับสนุน เป็นสนามฟุตบอลในกรุง[[มาดริด]] [[ประเทศสเปน]] เป็นสนามเหย้าของสโมสร[[อัตเลติโกเดมาดริด]] เริ่มใช้ใน[[อัตเลติโกเดมาดริดในฤดูกาล 2017–18|ฤดูกาล 2017–2018]] |
||
== ประวัติ == |
== ประวัติ == |
||
บรรทัด 47: | บรรทัด 47: | ||
[[หมวดหมู่:สนามฟุตบอลในมาดริด]] |
[[หมวดหมู่:สนามฟุตบอลในมาดริด]] |
||
[[หมวดหมู่:สนามกีฬาฟุตบอลโลก 2030]] |
[[หมวดหมู่:สนามกีฬาฟุตบอลโลก 2030]] |
||
[[หมวดหมู่:สนามฟุตบอลที่สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2537]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:09, 24 พฤศจิกายน 2567
เมโตรโปลิตาโน | |
ชื่อเต็ม | ซิบิตัสเมโตรโปลิตาโน |
---|---|
ที่ตั้ง | มาดริด, สเปน |
พิกัด | 40°26′10″N 3°35′58″W / 40.43611°N 3.59944°W |
ขนส่งมวลชน | สถานีเอสตาดิโอเมโตรโปลิตาโน |
เจ้าของ | แคว้นมาดริด (ค.ศ. 1992–2002) กรุงมาดริด (2002–2017) อัตเลติโกมาดริด (2017–ปัจจุบัน)[1] |
ผู้ดำเนินการ | อัตเลติโกมาดริด |
ความจุ | 67,703 ที่นั่ง |
สถิติผู้ชม | 67,942 คน (อัตเลติโกมาดริด พบเรอัลมาดริด; 28 กันยายน ค.ศ. 2019) [2] |
ขนาดสนาม | 105 × 68 เมตร (344 × 223 ฟุต) |
พื้นผิว | หญ้า |
การก่อสร้าง | |
ก่อสร้าง | ค.ศ. 1990–93 |
เปิดใช้สนาม | 6 กันยายน ค.ศ. 1997 |
ปรับปรุง | ค.ศ. 2017 |
ปิด | ค.ศ. 2004 |
เปิดใหม่ | 16 กันยายน ค. ศ. 2017 |
งบประมาณในการก่อสร้าง | 45 ล้านยูโร (ค.ศ. 1997) 240 ล้านยูโร (ค.ศ. 2017)[4] |
สถาปนิก | กรุซอิออร์ติซ |
ผู้รับเหมาหลัก | เอเฟเซเซ |
การใช้งาน | |
อัตเลติโกมาดริด (ค.ศ. 2017–ปัจจุบัน) ราโยมาฆาดาออนดา (ค.ศ. 2018)[3] |
เอสตาดิโอเมโตรโปลิตาโน (สเปน: Estadio Metropolitano) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซิบิตัสเมโตรโปลิตาโน (Cívitas Metropolitano) ตามชื่อผู้สนับสนุน เป็นสนามฟุตบอลในกรุงมาดริด ประเทศสเปน เป็นสนามเหย้าของสโมสรอัตเลติโกเดมาดริด เริ่มใช้ในฤดูกาล 2017–2018
ประวัติ
[แก้]เอสตาดิโอเมโตรโปลิตาโนเดิมมีชื่อว่า "สนามกีฬาแคว้นมาดริด" เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2533 ในฐานะส่วนหนึ่งของแผนการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกรีฑาชิงแชมป์โลก 1997 แต่ไม่ได้รับเลือก ใช้เวลาก่อสร้างนานถึง 4 ปีจึงเสร็จและเปิดใช้งานอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2537 โดยมีความจุ 20,000 ที่นั่ง ต่อมาสนามถูกปิดเพื่อปรับปรุงสำหรับรองรับการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิก 2016 แต่กรุงมาดริดก็ไม่ได้รับเลือกอีกเช่นกัน ใน พ.ศ. 2556 อัตเลติโกเดมาดริดได้ซื้อและเข้าปรับปรุงสนามโดยขยายความจุเป็น 66,703 ที่นั่ง และลงเล่นนัดแรกเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2560 สนามแห่งนี้เป็นสถานที่จัดการแข่งขันฟุตบอลยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 รอบชิงชนะเลิศ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "El Ayuntamiento venderá la parcela de La Peineta al Atlético". El Pais.com (ภาษาสเปน).
- ↑ "Atlético de Madrid vs. Real Madrid". laliga.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 สิงหาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2019.
- ↑ "El Wanda, la última solución para el Rayo Majadahonda" [Wanda, the last solution for Rayo Majadahonda] (ภาษาสเปน). Marca. 29 มิถุนายน 2018. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2018.
- ↑ "Wanda Metropolitano". StadiumDB. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2017.