ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พีชคณิตแบบบูล"
ล →ประวัติ |
ล แทนที่ {lang-??} ด้วย {langx|??} |
||
(ไม่แสดง 35 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 24 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{ต้องการอ้างอิง}} |
|||
ใน [[คณิตศาสตร์]]และ[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] '''พีชคณิตแบบบูล''', '''พีชคณิตบูลีน''' หรือ '''แลตทิซแบบบูล''' คือ [[โครงสร้างเชิงพีชคณิต]]ซึ่งเป็นการรวบรวมแก่นความหมายของการดำเนินการทาง[[ตรรกศาสตร์]] [[ทฤษฏีเซต]] |
|||
ใน[[คณิตศาสตร์]]และ[[คณิตตรรกศาสตร์]] '''พีชคณิตแบบบูล''' (หรือเรียกชื่ออื่นว่า '''พีชคณิตบูลเลียน''' หรือ '''แลตทิซแบบบูล''') ({{langx|en|Boolean algebra}}) คือโครงสร้างเชิงพีชคณิตซึ่งเป็นการรวบรวมแก่นความหมายของการดำเนินการทาง[[ตรรกศาสตร์]]และ[[ทฤษฎีเซต]] |
|||
โดยชื่อ'''พีชคณิตแบบบูล'''นั้นตั้งตาม [[จอร์จ บูล]]ผู้พัฒนาพีชคณิตแบบนี้ |
|||
โดยชื่อ'''พีชคณิตแบบบูล'''นั้นตั้งตาม[[จอร์จ บูล]] ผู้พัฒนาพีชคณิตแบบนี้ |
|||
พีชคณิตบูลีนเป็นสาขาของพีชคณิตซึ่งค่าของตัวแปรคือค่าความจริง จริงและเท็จ โดยปกติจะแสดงเป็น 1 และ 0 ตามลำดับ แต่ต่างจากพีชคณิตขั้นพื้นฐาน ที่ค่าของตัวแปรเป็นตัวเลขและการดำเนินการเฉพาะคือการบวกและการคูณ การดำเนินการหลักของพีชคณิตบูลีน ([[ตัวดำเนินการตรรกะ]]) คือ การรวม (และ) แสดงเป็น ∧ การไม่แยก (หรือ) แสดงเป็น ∨ และการปฏิเสธ (ไม่) แสดงเป็น ¬ เป็นวิธีการทางคณิตศาสตร์สำหรับอธิบายการดำเนินการเชิงตรรกะ ในลักษณะเดียวกับที่พีชคณิตขั้นพื้นฐานที่ใช้อธิบายการดำเนินการเชิงตัวเลข<ref name="givhal">{{Cite book|last1=Givant|first1=Steven|first2=Paul|last2=Halmos|authorlink2=Paul Halmos|year=2009|title=Introduction to Boolean Algebras|publisher=Undergraduate Texts in Mathematics, [[Springer Science+Business Media|Springer]]|isbn=978-0-387-40293-2}}</ref> |
|||
==ประวัติ== |
|||
[[จอร์จ บูล]] นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ที่มหาวิทยาลัย College Cork ผู้ที่นิยามพีชคณิตดังกล่าวขึ้นมาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางตรรกศาสตร์ในกลาง[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] พีชคณิตแบบบูลนำเทคนิคทางพีชคณิตมาใช้กับนิพจน์ใน[[ตรรกศาสตร์เชิงประพจน์]] ในปัจจุบันพีชคณิตแบบบูลได้ถูกนำไปประยุกต์อย่างแพร่หลายในการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ที่นำไปใช้คนแรกคือ[[คลาวด์ อี. แชนนอน]] นักวิทยาศาสตร์แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratory) ใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] โดยนำมาใช้ในการวิเคราะห์วงจรเน็ทเวิร์คที่ทำงานต่อกันหลาย ๆ ภาค เช่น วงจรของโทรศัพท์ เป็นต้น เมื่อมีการพัฒนาวงจร |
|||
พีชคณิตแบบบูล คิดค้นขึ้นโดย [[จอร์จ บูล]] (George Boole) ในหนังสือเล่มแรกของเขาเรื่อง ''The Mathematical Analysis of Logic'' (ค.ศ.1847) และมีเนื้อหาครบถ้วนมากขึ้นใน ''An Investigation of the Laws of Thought'' (ค.ศ.1854)<ref>{{Cite book|last=Boole|first=George|authorlink=George Boole|title=An Investigation of the Laws of Thought|publisher=Prometheus Books|origyear=1854|year=2003|isbn=978-1-59102-089-9}}</ref> พีชคณิตบูลีนเป็นหลักคณิตศาสตร์พื้นฐานในการพัฒนา[[อิเล็กทรอนิกส์|อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัล]] และ ใช้ประยุกต์ในการเขียน[[ภาษาโปรแกรม]]สมัยใหม่ทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีการใช้พีชคณิตแบบบูลใน[[ทฤษฎีเซต]]และ[[สถิติศาสตร์]]<ref name="givhal2">{{Cite book|last1=Givant|first1=Steven|first2=Paul|last2=Halmos|authorlink2=Paul Halmos|year=2009|title=Introduction to Boolean Algebras|publisher=Undergraduate Texts in Mathematics, [[Springer Science+Business Media|Springer]]|isbn=978-0-387-40293-2}}</ref> |
|||
คอมพิวเตอร์ขึ้นก็ได้มีการนำเอาพีชคณิตบูลีนมาใช้ในการคำนวณ ออกแบบ และอธิบายสภาวะการทำงานของสถานะวงจรภายในระบบคอมพิวเตอร์ โดยพีชคณิตบูลีนเป็นพื้นฐานสำคัญในการออกแบบวงจรตรรกของระบบดิจิตอล |
|||
== ประวัติ == |
|||
[[จอร์จ บูล]] นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ที่[[ยูนิเวอร์ซิตีคอลเลจ คอร์ก]] ผู้ที่นิยามพีชคณิตดังกล่าวขึ้นมาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางตรรกศาสตร์ในกลาง[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] พีชคณิตแบบบูลนำเทคนิคทางพีชคณิตมาใช้กับนิพจน์ใน[[ตรรกศาสตร์เชิงประพจน์]] ในปัจจุบันพีชคณิตแบบบูลได้ถูกนำไปประยุกต์อย่างแพร่หลายในการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ที่นำไปใช้คนแรกคือ[[คลาวด์ อี. แชนนอน]] นักวิทยาศาสตร์แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratory) ใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] โดยนำมาใช้ในการวิเคราะห์วงจรเน็ตเวิร์กที่ทำงานต่อกันหลายภาค เช่น วงจรของโทรศัพท์ เป็นต้น เมื่อมีการพัฒนาวงจร |
|||
คอมพิวเตอร์ขึ้นก็ได้มีการนำเอาพีชคณิตบูลีนมาใช้ในการคำนวณ ออกแบบ และอธิบายสภาวะการทำงานของสถานะวงจรภายในระบบคอมพิวเตอร์ โดยพีชคณิตบูลีนเป็นพื้นฐานสำคัญในการออกแบบวงจรตรรกของระบบดิจิทัล |
|||
==การดำเนินการ== |
|||
นั่นคือ [[ตัวดำเนินการและ|AND]], [[ตัวดำเนินการหรือ|OR]], และ[[ตัวดำเนินการนิเสธ|NOT]] รวมไปถึงการดำเนินการ[[ทฤษฎีเซต|ทางเซต]] นั่นคือ[[อินเตอร์เซกชัน]], [[ยูเนียน]] และ[[ส่วนเติมเต็ม (ทฤษฎีเซต)|ส่วนเติมเต็ม]] ตัวดำเนินการในพีชคณิตแบบบูลสามารถเขียนได้หลายแบบ โดยมากแล้วเราจะเขียนเป็น AND, OR, และ NOT ในการออกแบบวงจร NAND (NOT AND), NOR (NOT OR) และ XOR (eXclusive OR) ก็มีการใช้ทั่วไป [[นักคณิตศาสตร์]] มักใช้ + สำหรับ OR และ · แทน AND (เนื่องจากตัวดำเนินการเหล่านี้มีลักษณะคล้ายคลึงกับการบวก และการคูณ ใน[[โครงสร้างเชิงพีชคณิต]]อื่นๆ) และเขียน NOT ด้วยเส้นขีดเหนือนิพจน์ที่ถูกนิเสธ |
|||
== นิยาม == |
== นิยาม == |
||
'''พีชคณิตแบบบูล''' คือ [[เซต]] ''A'' ที่ประกอบด้วย[[การดำเนินการทวิภาค]] คือ <math>\land</math> (AND) กับ <math>\lor</math> (OR), [[การดำเนินการเอกภาค]] คือ <math>\lnot</math> / ~ (NOT) และสมาชิกคือ 0 (FALSE) กับ 1 (TRUE) |
'''พีชคณิตแบบบูล''' คือ [[เซต]] ''A'' ที่ประกอบด้วย[[การดำเนินการทวิภาค]] คือ <math>\land</math> (AND) กับ <math>\lor</math> (OR) , [[การดำเนินการเอกภาค]] คือ <math>\lnot</math> / ~ (NOT) และสมาชิกคือ 0 (FALSE) กับ 1 (TRUE) |
||
ซึ่งสำหรับสมาชิก ''a'', ''b'' และ ''c'' ของเซต ''A'' จะมีคุณสมบัติเป็นไปตาม[[สัจพจน์]]เหล่านี้ |
ซึ่งสำหรับสมาชิก ''a'', ''b'' และ ''c'' ของเซต ''A'' จะมีคุณสมบัติเป็นไปตาม[[สัจพจน์]]เหล่านี้ |
||
{|class=wikitable |
|||
!สมบัติของ <math>\lor</math>!!สมบัติของ <math>\land</math>!!ชื่อเรียก |
|||
:{| cellpadding=5 |
|||
|- |
|||
|<math> a \lor (b \lor c) = (a \lor b) \lor c </math> |
|||
|<math> a \ |
| <math> a \lor (b \lor c) = (a \lor b) \lor c </math> |
||
| <math> a \land (b \land c) = (a \land b) \land c </math> |
|||
| [[การเปลี่ยนหมู่]] |
| [[การเปลี่ยนหมู่]] |
||
|- |
|- |
||
|<math> a \lor b = b \lor a </math> |
| <math> a \lor b = b \lor a </math> |
||
|<math> a \land b = b \land a </math> |
| <math> a \land b = b \land a </math> |
||
| [[การสลับที่]] |
| [[การสลับที่]] |
||
|- |
|- |
||
|<math> a \lor (a \land b) = a </math> |
| <math> a \lor (a \land b) = a </math> |
||
|<math> a \land (a \lor b) = a </math> |
| <math> a \land (a \lor b) = a </math> |
||
| absorption |
| absorption |
||
|- |
|- |
||
|<math> a \lor (b \land c) = (a \lor b) \land (a \lor c) </math> |
| <math> a \lor (b \land c) = (a \lor b) \land (a \lor c) </math> |
||
|<math> a \land (b \lor c) = (a \land b) \lor (a \land c) </math> |
| <math> a \land (b \lor c) = (a \land b) \lor (a \land c) </math> |
||
| [[การแจกแจง]] |
| [[การแจกแจง]] |
||
|- |
|- |
||
|<math> a \lor \lnot a = 1 </math> |
| <math> a \lor \lnot a = 1 </math> |
||
|<math> a \land \lnot a = 0 </math> |
| <math> a \land \lnot a = 0 </math> |
||
| [[ส่วนเติมเต็ม]] |
| [[ส่วนเติมเต็ม]] |
||
|} |
|} |
||
บรรทัด 36: | บรรทัด 40: | ||
สำหรับสมาชิก ''a'' และ ''b'' ใน ''A'' มันจะมีเอกลักษณ์ดังต่อไปนี้ |
สำหรับสมาชิก ''a'' และ ''b'' ใน ''A'' มันจะมีเอกลักษณ์ดังต่อไปนี้ |
||
{|class=wikitable |
|||
:{| cellpadding=5 |
|||
!สมบัติของ <math>\lor</math>!!สมบัติของ <math>\land</math>!!ชื่อเรียก |
|||
|- |
|||
| <math> a \lor a = a</math> |
| <math> a \lor a = a</math> |
||
|<math> a \land a = a </math> |
| <math> a \land a = a </math> |
||
| [[นิจพล]] (idempotency) |
| [[นิจพล]] (idempotency) |
||
|- |
|- |
||
|<math> a \lor 0 = a </math> |
| <math> a \lor 0 = a </math> |
||
|<math> a \land 1 = a </math> |
| <math> a \land 1 = a </math> |
||
| rowspan=2 | [[มีขอบเขต]] (boundedness) |
| rowspan = 2 | [[มีขอบเขต]] (boundedness) |
||
|- |
|- |
||
|<math> a \lor 1 = 1 </math> |
| <math> a \lor 1 = 1 </math> |
||
|<math> a \land 0 = 0 </math> |
| <math> a \land 0 = 0 </math> |
||
|- |
|- |
||
|<math> \lnot 0 = 1 </math> |
| <math> \lnot 0 = 1 </math> |
||
|<math> \lnot 1 = 0 </math> |
| <math> \lnot 1 = 0 </math> |
||
| 0 และ 1 เป็นส่วนเติมเต็มกัน |
| 0 และ 1 เป็นส่วนเติมเต็มกัน |
||
|- |
|- |
||
|<math> \lnot (a \lor b) = \lnot a \land \lnot b</math> |
| <math> \lnot (a \lor b) = \lnot a \land \lnot b</math> |
||
|<math> \lnot (a \land b) = \lnot a \lor \lnot b</math> |
| <math> \lnot (a \land b) = \lnot a \lor \lnot b</math> |
||
| [[กฎเดอมอร์แกน]] (de Morgan's laws) |
| [[กฎเดอมอร์แกน]] (de Morgan's laws) |
||
|- |
|- |
||
บรรทัด 60: | บรรทัด 66: | ||
| [[อวัตนาการ]] (involution) |
| [[อวัตนาการ]] (involution) |
||
|} |
|} |
||
== ตัวดำเนินการของบูลในรูปแบบต่างๆ == |
|||
[[ไฟล์:Baops.gif|thumb|ตัวดำเนินการของบูล]] |
|||
== ตัวอย่าง == |
|||
{|class=wikitable |
|||
!ตรรกศาสตร์!!ทฤษฏีเซต!!วงจรดิจิทัล |
|||
* พีชคณิตแบบบูลที่ประกอบด้วยสมาชิก 0 และ 1 จะมีนิยามดังนี้ |
|||
{| |
|||
|- |
|- |
||
| <math>true</math> |
|||
| width="80" | |
|||
| <math>U</math> ([[เอกภพสัมพัทธ์]]) |
|||
| |
|||
| <math>1</math> |
|||
{| border="1" cellpadding="4" cellspacing="0" |
|||
|- |
|- |
||
| <math>false</math> |
|||
! ∧ || 0 || 1 |
|||
| <math>\emptyset</math> ([[เซตว่าง]]) |
|||
| <math>0</math> |
|||
|- |
|- |
||
| <math>\lor</math> |
|||
! 0 |
|||
| <math>\cup</math> |
|||
| 0 || 0 |
|||
| <math>+</math> |
|||
|- |
|- |
||
| <math>\land</math> |
|||
! 1 |
|||
| <math>\cap</math> |
|||
| 0 || 1 |
|||
| <math>\cdot</math> |
|||
|} |
|} |
||
| width="40" | |
|||
| |
|||
{| border="1" cellpadding="4" cellspacing="0" |
|||
|- |
|||
! ∨ || 0 || 1 |
|||
|- |
|||
! 0 |
|||
| 0 || 1 |
|||
|- |
|||
! 1 |
|||
| 1 || 1 |
|||
|} |
|||
|} |
|||
:*เรานำพีชคณิตแบบบูลไปใช้ใน[[ตรรกศาสตร์]]ได้ โดยตีความให้ 0 หมายถึง ''เท็จ'', 1 หมายถึง ''จริง'', ∧ แทนคำว่า ''และ'', ∨ แทนคำว่า ''หรือ'', และ ¬ แทนคำว่า ''ไม่'' |
|||
== การนำไปใช้ == |
|||
:*พีชคณิตแบบบูลที่มีสมาชิก 2 ตัวนั้น นำไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบวงจรไฟฟ้าในงาน[[วิศวกรรมไฟฟ้า]]ได้ โดย 0 และ 1 แทนสถานะที่แตกต่างกันของ[[บิต]]ใน[[วงจรดิจิทัล]] นั่นก็คือสถานะ[[ศักย์ไฟฟ้า]]สูงและต่ำ |
|||
* เรานำพีชคณิตแบบบูลไปใช้ใน[[ตรรกศาสตร์]]ได้ โดยตีความให้ 0 หมายถึง ''เท็จ'', 1 หมายถึง ''จริง'', ∧ แทนคำว่า ''และ'', ∨ แทนคำว่า ''หรือ'', และ ¬ แทนคำว่า ''ไม่'' |
|||
* พีชคณิตแบบบูลที่มีสมาชิก 2 ตัวนั้น นำไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบวงจรไฟฟ้าในงาน[[วิศวกรรมไฟฟ้า]]ได้ โดย 0 และ 1 แทนสถานะที่แตกต่างกันของ[[บิต]]ใน[[วงจรดิจิทัล]] นั่นก็คือสถานะ[[ศักย์ไฟฟ้า]]สูงและต่ำ |
|||
{{โครงคณิตศาสตร์}} |
|||
== อ้างอิง == |
|||
[[หมวดหมู่:พีชคณิตแบบบูล| ]] |
[[หมวดหมู่:พีชคณิตแบบบูล| ]] |
||
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีอันดับ]] |
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีอันดับ]] |
||
[[หมวดหมู่:วงจร |
[[หมวดหมู่:วงจรดิจิทัล]] |
||
[[ast:Álxebra de Boole]] |
|||
[[bg:Булева алгебра]] |
|||
[[bn:বুলিয়ান বীজগণিত]] |
|||
[[ca:Àlgebra de Boole]] |
|||
[[cs:Booleova algebra]] |
|||
[[de:Boolesche Algebra]] |
|||
[[en:Boolean algebra]] |
|||
[[es:Álgebra de Boole]] |
|||
[[fa:جبر بولی]] |
|||
[[fi:Boolen algebra]] |
|||
[[fr:Algèbre de Boole (logique)]] |
|||
[[gl:Álxebra de Boole]] |
|||
[[he:אלגברה בוליאנית]] |
|||
[[hr:Booleova algebra]] |
|||
[[hu:Boole-algebra]] |
|||
[[id:Aljabar Boolean]] |
|||
[[io:Booleana algebro]] |
|||
[[it:Algebra di Boole]] |
|||
[[ja:ブール代数]] |
|||
[[lt:Būlio algebra]] |
|||
[[nl:Booleaanse algebra]] |
|||
[[no:Boolsk algebra]] |
|||
[[pl:Algebra Boole'a]] |
|||
[[pt:Álgebra booleana]] |
|||
[[ru:Булева алгебра]] |
|||
[[simple:Boolean algebra]] |
|||
[[sl:Booleova algebra]] |
|||
[[sr:Булова алгебра]] |
|||
[[sv:Boolesk algebra]] |
|||
[[tl:Aldyebrang Boolean]] |
|||
[[tr:Boole cebiri]] |
|||
[[uk:Булева алгебра]] |
|||
[[zh:布尔代数]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 01:11, 20 พฤศจิกายน 2567
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ในคณิตศาสตร์และคณิตตรรกศาสตร์ พีชคณิตแบบบูล (หรือเรียกชื่ออื่นว่า พีชคณิตบูลเลียน หรือ แลตทิซแบบบูล) (อังกฤษ: Boolean algebra) คือโครงสร้างเชิงพีชคณิตซึ่งเป็นการรวบรวมแก่นความหมายของการดำเนินการทางตรรกศาสตร์และทฤษฎีเซต โดยชื่อพีชคณิตแบบบูลนั้นตั้งตามจอร์จ บูล ผู้พัฒนาพีชคณิตแบบนี้
พีชคณิตบูลีนเป็นสาขาของพีชคณิตซึ่งค่าของตัวแปรคือค่าความจริง จริงและเท็จ โดยปกติจะแสดงเป็น 1 และ 0 ตามลำดับ แต่ต่างจากพีชคณิตขั้นพื้นฐาน ที่ค่าของตัวแปรเป็นตัวเลขและการดำเนินการเฉพาะคือการบวกและการคูณ การดำเนินการหลักของพีชคณิตบูลีน (ตัวดำเนินการตรรกะ) คือ การรวม (และ) แสดงเป็น ∧ การไม่แยก (หรือ) แสดงเป็น ∨ และการปฏิเสธ (ไม่) แสดงเป็น ¬ เป็นวิธีการทางคณิตศาสตร์สำหรับอธิบายการดำเนินการเชิงตรรกะ ในลักษณะเดียวกับที่พีชคณิตขั้นพื้นฐานที่ใช้อธิบายการดำเนินการเชิงตัวเลข[1]
พีชคณิตแบบบูล คิดค้นขึ้นโดย จอร์จ บูล (George Boole) ในหนังสือเล่มแรกของเขาเรื่อง The Mathematical Analysis of Logic (ค.ศ.1847) และมีเนื้อหาครบถ้วนมากขึ้นใน An Investigation of the Laws of Thought (ค.ศ.1854)[2] พีชคณิตบูลีนเป็นหลักคณิตศาสตร์พื้นฐานในการพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัล และ ใช้ประยุกต์ในการเขียนภาษาโปรแกรมสมัยใหม่ทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีการใช้พีชคณิตแบบบูลในทฤษฎีเซตและสถิติศาสตร์[3]
ประวัติ
[แก้]จอร์จ บูล นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ที่ยูนิเวอร์ซิตีคอลเลจ คอร์ก ผู้ที่นิยามพีชคณิตดังกล่าวขึ้นมาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางตรรกศาสตร์ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 พีชคณิตแบบบูลนำเทคนิคทางพีชคณิตมาใช้กับนิพจน์ในตรรกศาสตร์เชิงประพจน์ ในปัจจุบันพีชคณิตแบบบูลได้ถูกนำไปประยุกต์อย่างแพร่หลายในการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ที่นำไปใช้คนแรกคือคลาวด์ อี. แชนนอน นักวิทยาศาสตร์แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratory) ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยนำมาใช้ในการวิเคราะห์วงจรเน็ตเวิร์กที่ทำงานต่อกันหลายภาค เช่น วงจรของโทรศัพท์ เป็นต้น เมื่อมีการพัฒนาวงจร คอมพิวเตอร์ขึ้นก็ได้มีการนำเอาพีชคณิตบูลีนมาใช้ในการคำนวณ ออกแบบ และอธิบายสภาวะการทำงานของสถานะวงจรภายในระบบคอมพิวเตอร์ โดยพีชคณิตบูลีนเป็นพื้นฐานสำคัญในการออกแบบวงจรตรรกของระบบดิจิทัล
นิยาม
[แก้]พีชคณิตแบบบูล คือ เซต A ที่ประกอบด้วยการดำเนินการทวิภาค คือ (AND) กับ (OR) , การดำเนินการเอกภาค คือ / ~ (NOT) และสมาชิกคือ 0 (FALSE) กับ 1 (TRUE) ซึ่งสำหรับสมาชิก a, b และ c ของเซต A จะมีคุณสมบัติเป็นไปตามสัจพจน์เหล่านี้
สมบัติของ | สมบัติของ | ชื่อเรียก |
---|---|---|
การเปลี่ยนหมู่ | ||
การสลับที่ | ||
absorption | ||
การแจกแจง | ||
ส่วนเติมเต็ม |
สำหรับสมาชิก a และ b ใน A มันจะมีเอกลักษณ์ดังต่อไปนี้
สมบัติของ | สมบัติของ | ชื่อเรียก |
---|---|---|
นิจพล (idempotency) | ||
มีขอบเขต (boundedness) | ||
0 และ 1 เป็นส่วนเติมเต็มกัน | ||
กฎเดอมอร์แกน (de Morgan's laws) | ||
อวัตนาการ (involution) |
ตัวดำเนินการของบูลในรูปแบบต่างๆ
[แก้]ตรรกศาสตร์ | ทฤษฏีเซต | วงจรดิจิทัล |
---|---|---|
(เอกภพสัมพัทธ์) | ||
(เซตว่าง) | ||
การนำไปใช้
[แก้]- เรานำพีชคณิตแบบบูลไปใช้ในตรรกศาสตร์ได้ โดยตีความให้ 0 หมายถึง เท็จ, 1 หมายถึง จริง, ∧ แทนคำว่า และ, ∨ แทนคำว่า หรือ, และ ¬ แทนคำว่า ไม่
- พีชคณิตแบบบูลที่มีสมาชิก 2 ตัวนั้น นำไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบวงจรไฟฟ้าในงานวิศวกรรมไฟฟ้าได้ โดย 0 และ 1 แทนสถานะที่แตกต่างกันของบิตในวงจรดิจิทัล นั่นก็คือสถานะศักย์ไฟฟ้าสูงและต่ำ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Givant, Steven; Halmos, Paul (2009). Introduction to Boolean Algebras. Undergraduate Texts in Mathematics, Springer. ISBN 978-0-387-40293-2.
- ↑ Boole, George (2003) [1854]. An Investigation of the Laws of Thought. Prometheus Books. ISBN 978-1-59102-089-9.
- ↑ Givant, Steven; Halmos, Paul (2009). Introduction to Boolean Algebras. Undergraduate Texts in Mathematics, Springer. ISBN 978-0-387-40293-2.