ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
วรุฒ หิ่มสาใจ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
JasperBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ {lang-??} ด้วย {langx|??}
 
(ไม่แสดง 18 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 3 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ
| ตรา = THACCA Logo.svg
|preceding1=[[คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ]]<br>[[สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)]]
| สืบทอดจาก_1 = {{Ubl
|กำกับดูแล = [[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]]
| [[คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ]]
|headquarters = 1160 [[ถนนเจริญกรุง]] [[แขวงบางรัก]] [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10500 (เบื้องต้น)
| [[สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)]]
}}
| กำกับดูแล = [[สำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง]] (2567-ปัจจุบัน)<br>[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] (หลัง พ.ร.บ. บังคับใช้)
| สำนักงานใหญ่ = 1160 [[ถนนเจริญกรุง]] [[แขวงบางรัก]] [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10500 (เบื้องต้น)
|ต้นสังกัด=[[สำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง]]| เว็บไซต์ = {{URL|https://thacca.go.th/}}
}}
}}

'''สำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์''' ({{lang-en|Thailand Creative Culture Agency}}; ชื่อเดิม: Thailand Creative Content Agency; ชื่อย่อ: THACCA) เป็นหน่วยงานของ[[รัฐบาลไทย]] ภายใต้การกำกับดูแลโดยตรงของ[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] มีวัตถุประสงค์เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรม[[ซอฟต์พาวเวอร์]]ของประเทศไทย<ref name=":0">[https://www.matichon.co.th/politics/news_4411080 เปิดตัวเพจ THACCA ทางการ ลุยซอฟต์พาวเวอร์ อำนาจขึ้นตรงนายกฯ คาดชงครม.มี.ค.]</ref> ซึ่งจะจัดตั้งขึ้นในอนาคตภายหลังร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ พ.ศ. ... มีผลบังคับใช้ โดยแปรสภาพจาก[[สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)]] และกำกับดูแลโดย[[สำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์#คณะกรรมการนโยบายส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์แห่งชาติ|คณะกรรมการนโยบายส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์แห่งชาติ]]ที่จะแปรสภาพมาจาก[[คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ]]<ref name=":3" />
'''สำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์''' ({{langx|en|Thailand Creative Culture Agency}}; ชื่อเดิม: Thailand Creative Content Agency; ชื่อย่อ: THACCA) เป็นหน่วยงานของ[[รัฐบาลไทย]] ภายใต้การกำกับดูแลโดยตรงของ[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] มีวัตถุประสงค์เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรม[[ซอฟต์พาวเวอร์]]ของประเทศไทย<ref name=":0">[https://www.matichon.co.th/politics/news_4411080 เปิดตัวเพจ THACCA ทางการ ลุยซอฟต์พาวเวอร์ อำนาจขึ้นตรงนายกฯ คาดชงครม.มี.ค.]</ref> ปัจจุบันเป็นหน่วยงานย่อยของ[[สำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง]] (สำนักงาน ป.ย.ป.) ซึ่งเป็นหน่วยงานธุรการของ[[คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ]] โดยที่ยังไม่จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ

ในอนาคต ภายหลังร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ พ.ศ. ... มีผลบังคับใช้ THACCA จะจัดตั้งขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐอย่างเป็นทางการผ่านการแปรสภาพจาก[[สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)]] พร้อมทั้งรับโอนภารกิจการขับเคลื่อนซอฟต์พาวเวอร์จากสำนักงาน ป.ย.ป. มาดำเนินงานเองอย่างเต็มรูปแบบ และกำกับดูแลโดย[[สำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์#คณะกรรมการนโยบายส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์แห่งชาติ|คณะกรรมการนโยบายส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์แห่งชาติ]]ที่จะแปรสภาพมาจาก[[คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ]]<ref name=":3" />


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
สำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ เป็นหน่วยงานที่เตรียมจัดตั้งขึ้นตามร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ พ.ศ. ... ซึ่งปัจจุบันยกร่างเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว โดยอยู่ระหว่าง[[การประชาพิจารณ์]]ตั้งแต่วันที่ 1 - 30 เมษายน พ.ศ. 2567<ref name=":3" /> ก่อนนำเข้าสู่การพิจารณาของ[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63|คณะรัฐมนตรี]] และ[[คณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)|คณะกรรมการกฤษฎีกา]]ตามลำดับ ก่อนส่งกลับมายัง ครม. ในช่วงเดือนพฤษภาคม จากนั้น จะนำร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวเข้าสู่ที่ประชุม[[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26]] ภายในสมัยประชุมสามัญประจําปีครั้งที่ 3 ในช่วงไตรมาสที่ 3<ref>{{Cite news|date=16 เมษายน 2024|title=‘พ.ร.บ.ซอฟต์พาวเวอร์‘เข้าสภาฯสมัยหน้า ‘รัฐบาล’ ปักหมุดตั้ง ‘THACCA’ ปี 68|work=[[กรุงเทพธุรกิจ]]|url=https://www.bangkokbiznews.com/business/economic/1122374|url-status=live|access-date=24 เมษายน 2024}}</ref><ref>{{Cite news|date=29 มีนาคม 2024|title=ระดมสมอง ค้นจุดแข็ง สร้างพายุหมุน ผลักดัน “ซอฟต์พาวเวอร์” ให้ไปถึงระดับโลก|work=[[ผู้จัดการออนไลน์]]|url=https://mgronline.com/onlinesection/detail/9670000027948|url-status=live|access-date=30 มีนาคม 2024}}</ref> และคาดว่าที่ประชุมจะอนุมัติทั้ง 3 วาระในช่วงเดือนธันวาคม จากนั้นจะเข้าสู่การพิจารณาในชั้นของ[[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 13]] ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2568 และคาดว่าหากผ่านชั้นของวุฒิสภาแล้ว จะประกาศใช้พระราชบัญญัติเพื่อจัดตั้งองค์กรดังกล่าวได้ในช่วงครึ่งปีแรกของปี พ.ศ. 2568<ref name=":0"/>
สำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ เป็นหน่วยงานที่เตรียมจัดตั้งขึ้นตามร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ พ.ศ. ... ซึ่งปัจจุบันยกร่างเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว โดยอยู่ระหว่าง[[การประชาพิจารณ์]]ตั้งแต่วันที่ 1 - 30 เมษายน พ.ศ. 2567<ref name=":3" /> ก่อนนำเข้าสู่การพิจารณาของ[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 63|คณะรัฐมนตรี]] และ[[คณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)|คณะกรรมการกฤษฎีกา]]ตามลำดับ ก่อนส่งกลับมายัง ครม. ในช่วงเดือนพฤษภาคม จากนั้น จะนำร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวเข้าสู่ที่ประชุม[[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26]] ภายในสมัยประชุมสามัญประจําปีครั้งที่ 3 ในช่วงไตรมาสที่ 3<ref>{{Cite news|date=16 เมษายน 2024|title=‘พ.ร.บ.ซอฟต์พาวเวอร์‘เข้าสภาฯสมัยหน้า ‘รัฐบาล’ ปักหมุดตั้ง ‘THACCA’ ปี 68|work=[[กรุงเทพธุรกิจ]]|url=https://www.bangkokbiznews.com/business/economic/1122374|url-status=live|access-date=24 เมษายน 2024}}</ref><ref>{{Cite news|date=29 มีนาคม 2024|title=ระดมสมอง ค้นจุดแข็ง สร้างพายุหมุน ผลักดัน “ซอฟต์พาวเวอร์” ให้ไปถึงระดับโลก|work=[[ผู้จัดการออนไลน์]]|url=https://mgronline.com/onlinesection/detail/9670000027948|url-status=live|access-date=30 มีนาคม 2024}}</ref> และคาดว่าที่ประชุมจะอนุมัติทั้ง 3 วาระในช่วงเดือนธันวาคม จากนั้นจะเข้าสู่การพิจารณาในชั้นของ[[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 13]] ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2568 และคาดว่าหากผ่านชั้นของวุฒิสภาแล้ว จะประกาศใช้พระราชบัญญัติเพื่อจัดตั้งองค์กรดังกล่าวได้ในช่วงครึ่งปีแรกของปี พ.ศ. 2568<ref name=":0"/> อย่างไรก็ตาม มีการเปิดเว็บไซต์ทางการและสื่อสังคมของสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ขึ้นในนาม THACCA มาตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ โดยอยู่ภายใต้การดูแลของ[[สำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง]] (สำนักงาน ป.ย.ป.) ซึ่งเป็นหน่วยงานธุรการของ[[คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ]]<ref>{{Cite news|date=17 พฤษภาคม 2024|title=การประชุมคณะอนุกรรมการด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์นโยบายซอฟต์พาวเวอร์ ครั้งที่ 1/2567|work=[[สำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง]]|url=https://sto.go.th/news/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3/|url-status=live|access-date=14 พฤศจิกายน 2024}}</ref>

ในบทเฉพาะกาลของร่างพระราชบัญญัตินี้กำหนดไว้ว่า หลังจากพระราชบัญญัตินี้บังคับใช้ ให้


ในบทเฉพาะกาลของร่างพระราชบัญญัตินี้กำหนดไว้ว่า หลังจากพระราชบัญญัตินี้บังคับใช้ ให้[[คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ]] ทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการนโยบายส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์แห่งชาติไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายในไม่เกิน 180 วัน จึงจะถือว่าคณะกรรมการถูกยุบเลิกและแปรสภาพโดยสมบูรณ์ ส่วน[[สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)]] จะถูกยุบเลิกและแปรสภาพเป็นสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ทันที แต่ให้คณะกรรมการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ทำหน้าที่คณะกรรมการบริหารสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการบริหารภายในไม่เกิน 180 วัน และให้ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) ทำหน้าที่ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ไปพลางก่อนเช่นกัน<ref name=":3">{{Cite news|title=เปิดร่าง‘พ.ร.บ.วัฒนธรรมสร้างสรรค์ฯ’ ดึงเงิน‘กองสลาก’-7 กองทุน ดัน‘ซอฟต์พาวเวอร์’ 11 สาขา|url=https://isranews.org/article/isranews-scoop/127975-gov-THACCA-draft-law-report.html|date=21 เมษายน 2024|access-date=24 เมษายน 2024|agency=[[สำนักข่าวอิศรา]]}}</ref>
* คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ ทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการนโยบายส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์แห่งชาติไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายในไม่เกิน 180 วัน จึงจะถือว่าคณะกรรมการถูกยุบเลิกและแปรสภาพโดยสมบูรณ์
* [[สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)]] จะถูกยุบเลิกและแปรสภาพเป็นสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ทันที รวมถึงรับโอนภารกิจการขับเคลื่อนซอฟต์พาวเวอร์จากสำนักงาน ป.ย.ป. มาดำเนินงานเองอย่างเต็มรูปแบบ แต่
** ให้คณะกรรมการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทำหน้าที่คณะกรรมการบริหารสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการบริหารภายในไม่เกิน 180 วัน
** ให้ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) ทำหน้าที่ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ไปพลางก่อน<ref name=":3">{{Cite news|title=เปิดร่าง‘พ.ร.บ.วัฒนธรรมสร้างสรรค์ฯ’ ดึงเงิน‘กองสลาก’-7 กองทุน ดัน‘ซอฟต์พาวเวอร์’ 11 สาขา|url=https://isranews.org/article/isranews-scoop/127975-gov-THACCA-draft-law-report.html|date=21 เมษายน 2024|access-date=24 เมษายน 2024|agency=[[สำนักข่าวอิศรา]]}}</ref>


== ภารกิจ ==
== ภารกิจ ==
บรรทัด 43: บรรทัด 56:
|-
|-
| 2
| 2
| [[อนุทิน ชาญวีรกูล]]
| [[มาริษ เสงี่ยมพงษ์]]
| [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ]]
| รองนายกรัฐมนตรี และ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย]]
| rowspan="10" | กรรมการโดยตำแหน่ง
| rowspan="10" | กรรมการโดยตำแหน่ง
|-
|-
| 3
| 3
| [[ประเสริฐ จันทรรวงทอง]]
| [[เสริมศักดิ์ พงษ์พานิช]]
| [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา]]
| รองนายกรัฐมนตรี และ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม]]
|-
|-
| 4
| 4
| [[มาริษ เสงี่ยมพงษ์]]
| [[ศุภมาส อิศรภักดี]]
| [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม]]
| [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ]]
|-
|-
| 5
| 5
| [[สรวงศ์ เทียนทอง]]
| [[ประเสริฐ จันทรรวงทอง]]
| [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม]]
| [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา]]
|-
|-
| 6
| 6
| [[ศุภมาส อิศรภักดี]]
| [[ภูมิธรรม เวชยชัย]]
| รองนายกรัฐมนตรี และ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์]]
| [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม]]
|-
|-
| 7
| 7
| [[พิชัย นริพทะพันธุ์]]
| [[อนุทิน ชาญวีรกูล]]
| รองนายกรัฐมนตรี และ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย]]
| [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์]]
|-
|-
| 8
| 8
บรรทัด 80: บรรทัด 93:
|-
|-
| 11
| 11
| [[เอกนัฏ พร้อมพันธุ์]]
| [[พิมพ์ภัทรา วิชัยกุล]]
| [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม]]
| [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม]]
|-
|-
บรรทัด 122: บรรทัด 135:


เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ให้กองทุนเหล่านี้ดำเนินการโอนทรัพย์สินภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มต้นปีงบประมาณถัดไป<ref name=":3" />
เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ให้กองทุนเหล่านี้ดำเนินการโอนทรัพย์สินภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มต้นปีงบประมาณถัดไป<ref name=":3" />

== รายชื่อคณะอนุกรรมการ ==
{{แยก|รายชื่อคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมซอฟต์พาวเวอร์ของประเทศไทย}}

=== ภาพยนตร์<ref name>[https://thestandard.co/thacca-film-subcommittee-list/ THACCA เปิดรายชื่อคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนอุตสาหกรรม ‘ด้านภาพยนตร์’ โดยมี คุณชายอดัม รับตำแหน่งประธาน]</ref> ===
{| class="wikitable collapsible collapsed" style="text-align: center"
|-
! ลำดับ !! ชื่อ !! ตำแหน่ง/อาชีพ !! ตำแหน่งในคณะอนุกรรมการ !! หมายเหตุ
|-
|1
|[[หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล]] (คุณชายอดัม)
|ผู้กำกับภาพยนตร์
|ประธานคณะอนุกรรมการ
|
|-
|2
|กมลทิพย์ เตชะสกุลมาศ
|Director & General Management บริษัท One Cool Production จำกัด
| rowspan="20" |อนุกรรมการ
|
|-
|3
|กิตติพัฒน์ จินะทอง
|ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท REAL BANGKOK DIGITAL MEDIA
|
|-
|4
|กุลเทพ นฤหล้า
|ผู้บริหารบริษัท Benetone Films และนายกสมาคมผู้บริหารการผลิตภาพยนตร์ต่างประเทศ
|
|-
|5
|[[ชยนพ บุญประกอบ]] (หมู)
|ผู้กำกับภาพยนตร์
|
|-
|6
|ชลากรณ์ ปัญญาโฉม (กรณ์)
|ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายงานดิจิทัล [[เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์|บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน)]]
|
|-
|7
|ชลิดา เอื้อบำรุงจิต
|ผู้อำนวยการ[[หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)]]
|
|-
|8
|[[ชานน สันตินธรกุล]] (นนกุล)
|นักแสดง
|แต่งตั้งเพิ่มเติม
|-
|9
|โชคชัย ชยวัฑโฒ
|ผู้อำนวยการ[[สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ]]
|
|-
|10
|[[ณฐพล บุญประกอบ]]
|ผู้กำกับภาพยนตร์
|
|-
|11
|[[ณัฏฐ์ กิจจริต]] (นัท)
|นักแสดง
|
|-
|12
|ดร.สะรณ โกวิทวณิชชา
|ผู้อำนวยการเทศกาลภาพยนตร์ Festival Director
|
|-
|13
|[[พันธุ์ธัมม์ ทองสังข์]] (ปุ๊ก)
|ผู้กำกับภาพยนตร์
|
|-
|14
|พิมสิริ ทองร่มโพธิ์
|ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาดบริษัท เอส เอฟ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
|
|-
|15
|มานุสส วรสิงห์
|นายกสมาคมนักลำดับภาพแห่งประเทศไทย
|
|-
|16
|มิณราญาพร สำนองคำ
|เลขานุการ[[สมาคมผู้กำกับภาพยนตร์ไทย]]
|
|-
|17
|วรลักษณ์ กล้าสุคนธ์
|ผู้เขียนบทภาพยนตร์เรื่อง[[สิ่งเล็กเล็กที่เรียกว่า...รัก]]
|
|-
|18
|[[วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง]]
|ผู้กำกับและนักเขียนบทภาพยนตร์
|
|-
|19
|ศาสวัต บุญศรี
|อาจารย์[[คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร]]
|
|-
|20
|สุรเชษฐ์ อัศวเรืองอนันต์
|รองประธานเจ้าหน้าบริหารฝ่ายสื่อโฆษณา [[เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์|บริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)]]
|
|-
|21
|โสฬส สุขุม
|ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์และศิลปินศิลปาธร สาขาภาพยนตร์และสื่อเคลื่อนไหว ปี 2561
|
|-
|22
|อริสา พลโยธา
|Communication Media Producer
|อนุกรรมการและเลขานุการ
|
|-
|}

=== ละครและซีรีส์ ===
{| class="wikitable collapsible collapsed" style="text-align: center"
|-
! ลำดับ !! ชื่อ !! อาชีพ/ตำแหน่ง !! ตำแหน่งในคณะอนุกรรมการ !! หมายเหตุ
|-
|1
|[[หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล]] (คุณชายอดัม)
|ผู้กำกับละครและซีรีส์
|ประธานอนุกรรมการ
|
|-
|2
|เดียว วรตั้งตระกูล
|ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท วัน สามสิบเอ็ด จำกัด ([[ช่องวัน 31]])
| rowspan="17" |อนุกรรมการ
|
|-
|3
|นันทวรรณ รุ่งวงศ์พาณิชย์ (บ๊วย)
|นักเขียนบทละครโทรทัศน์
|
|-
|4
|นิธิภัทร์ เอื้อวัฒนสกุล (เอิน)
|ผู้จัดละครโทรทัศน์
|
|-
|5
|พิมพ์มาตา ปัตพิบูลย์
|
|
|-
|6
|[[มนัสนันท์ พันเลิศวงศ์สกุล]] (โดนัท)
|นักแสดง ผู้กำกับละครโทรทัศน์ ผู้จัดละครโทรทัศน์
|
|-
|7
|ยศสินี ณ นคร (จ๋า)
|ผู้จัดละครโทรทัศน์
|
|-
|8
|[[วรฤทธิ์ ไวยเจียรนัย]] (เอส)
| rowspan="2" |ผู้จัดละครซีรีส์
|
|-
|9
|ว่าน ทับกระจ่าง (หยวน)
|
|-
|10
|[[วิรัตน์ เฮงคงดี]] (โจ้)
|ผู้อำนวยการฝ่ายการผลิตละครโทรทัศน์ บริษัท [[เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์]] จำกัด (มหาชน)
|
|-
|11
|วิโรจน์ ศรีสิทธิ์เสรีอมร
|ผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านประวัติศาสตร์ และที่ปรึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์
|
|-
|12
|ศราวุธ แก้วน้ำเย็น
|ผู้กำกับศิลป์ภาพยนตร์และผู้ออกแบบงานสร้าง
|
|-
|13
|[[ศุภพงษ์ อุดมแก้วกาญจนา]] (เซนต์)
|นักแสดง พิธีกร และผู้จัดละครซีรีส์
|
|-
|14
|อคิรากร อิกิติสิริ (เอ็ม)
|ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท [[วิว]] (ประเทศไทย) จำกัด
|
|-
|15
|อารี อารีจิตเสถียร (หลิง)
|ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท ทรู ซีเจ ครีเอชั่นส์ จำกัด
|
|-
|16
|[[ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล]] (มะเดี่ยว)
|ผู้กำกับภาพยนตร์
| rowspan="3" |แต่งตั้งเพิ่มเติม<ref>[https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/entertainment/1107638 มะเดี่ยวชูเกียรติ-แก๊ปเปอร์ วรฤทธิ์ ผงาดนั่งอนุกรรมการซอฟต์พาวเวอร์ ด้านละคร-ซีรีย์]</ref>
|-
|17
|[[วรฤทธิ์ นิลกลม]] (แก๊ปเปอร์)
|อดีตพิธีกร ผู้กำกับและผู้จัดละครซีรีส์
|-
|18
|นงลักษณ์ งามโรจน์ (เหน่ง)
|ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท อาร์เอส มัลติมีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (ช่อง 8)
|-
|19
|อริสา พลโยธา
|Communication Media Producer
|อนุกรรมการและเลขานุการ
|
|-
|}

=== ดนตรี ===
{| class="wikitable collapsible collapsed" style="text-align: center"
|-
! ลำดับ !! ชื่อ !! อาชีพ/ตำแหน่ง !! ตำแหน่งในคณะอนุกรรมการ !! หมายเหตุ
|-
|1
|[[วิเชียร ฤกษ์ไพศาล]] (นิค)
|อดีตรองกรรมการผู้อำนวยการ บมจ.[[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่]] อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัท [[จีนี่ เรคคอร์ด]]
|ประธานอนุกรรมการ
|
|-
|2
|ชลากรณ์ ปัญญาโฉม (กรณ์)
|กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายงานดิจิทัลบริษัท [[เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์]] จำกัด (มหาชน)
| rowspan="17" |อนุกรรมการ
|
|-
|3
|[[ณฐพล ศรีจอมขวัญ]]
|นักร้อง นักดนตรี โปรดิวเซอร์
|
|-
|4
|บุญเพิ่ม อินทนปสาธน์
|
|
|-
|5
|ปิยะพงษ์ หมื่นประเสริฐดี
|ผู้ก่อตั้งและกรรมการบริษัท ฟังใจ จำกัด
|
|-
|6
|พงศ์สิริ เหตระกูล (ต้อม)
|
|
|-
|7
|พิเศษ จียาศักดิ์
|
|
|-
|8
|ภาวิต จิตรกร
|ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร [[จีเอ็มเอ็ม มิวสิค|บริษัท จีเอ็มเอ็ม มิวสิค จำกัด (มหาชน)]]
|
|-
|9
|มารีอา มู่
|นักร้อง
|
|-
|10
|สามขวัญ ตันสมพงษ์ (มอย)
|ผู้ก่อตั้งค่ายเพลง What the Duck
|
|-
|11
|อรศิริ ประวัติยากูร (แอร์)
|
|
|-
|12
|พรพรรณ เตชรุ่งชัยกุล
|ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร [[อาร์เอส มิวสิค|บริษัท อาร์เอส มิวสิค จำกัด]]
| rowspan="7" |แต่งตั้งเพิ่มเติม
|-
|13
|พงศ์นรินทร์ อุลิศ (จ๋อง)
|ประธานกรรมการบริหาร [[แคท เรดิโอ|บริษัท แคท เรดิโอ จำกัด]]
|-
|14
|คาล คงขำ
|กรรมการผู้จัดการ [[วอร์นเนอร์ มิวสิค ไทยแลนด์|บริษัท วอร์นเนอร์ มิวสิค (ประเทศไทย) จำกัด]]
|-
|15
|อนุชา โอเจริญ
|ผู้ก่อตั้งค่ายเพลง Rats Records
|-
|16
|อนันต์ ลือประดิษฐ์
|ผู้ก่อตั้งและบรรณาธิการอำนวยการสื่อ The People
|-
|17
|นัดส์ เจดีย์
| ผู้ก่อตั้ง Loudly Prefer
|-
|18
|พลกฤต ศรีสมุทร
|กรรมการผู้จัดการ YUPP! Entertainment และ RAP IS NOW
|-
|19
|ลลิส วรพชิรากูร
|
|rowspan="3"|อนุกรรมการและเลขานุการร่วม
|
|-
|20
|ทวารัฐ สูตะบุตร
|ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
|rowspan="2"|แต่งตั้งเพิ่มเติม
|-
|21
|ชาคริต พิชญางกูร
|ผู้อำนวยการ[[สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)]]
|-
|}

=== อาหาร ===
{| class="wikitable collapsible collapsed" style="text-align: center"
|-
! ลำดับ !! ชื่อ !! อาชีพ/ตำแหน่ง !! ตำแหน่งในคณะอนุกรรมการ !! หมายเหตุ
|-
|1
|ชุมพล แจ้งไพร
|ทูตอาหารเพื่อความยั่งยืนจาก FeedUp@UN
|ประธานอนุกรรมการ
|
|-
|2
|เชาวนี พันธุ์พฤกษ์
|ผู้จัดการฝ่ายหน่วยงานบริหารกิจการเพื่อสังคม บริษัท พิทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
|rowspan="3" |รองประธานอนุกรรมการ
|
|-
|3
|วรชนาธิป จันทนู
|รองผู้อำนวยการสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
|
|-
|4
|อรกานดา อรรถวิภัชน์
|ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน)
|
|-
|5
|กัญญปรีย์ จินตวรรณ
|Managing Director บริษัท อลิส เทคโนโลยี จำกัด
|rowspan="24" |อนุกรรมการ
|
|-
|6
|กิตติวัฒก์ สุเทปิน
|กรรมการผู้จัดการบริษัท Food DD จำกัด
|
|-
|7
|เกษมสันต์ สัตยารักษ์
|รองประธานบริหารของร้าน Copper Buffet
|
|-
|8
|ฐนิวรรณ กุลมงคล
|นายกสมาคมภัตตาคารไทย
|
|-
|9
|ณัฐพงศ์ ธีรนันทพิชิต
|อาจารย์ใหญ่สถาบันการอาหารไทย TCA
|
|-
|10
|ธงชัย สุวรรณสิชณน์
|ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)
|
|-
|11
|นูรอ โช๊ะมณี สเต็ปเป้
|ผู้ก่อตั้งโรงเรียนสอนทำอาหารและภัตคารบลูเอเลเฟ่นท์ ผู้ผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์เครื่องแกงไทยและซอสปรุงรส
|
|-
|12
|ประภัสสร รังสิโรจน์
|นายกสมาคมร้านอาหารไทยและสตรีทฟู้ด กรรมการผู้จัดการ บริษัท เพิ่มทรัพย์บุญทวี จำกัด
|
|-
|13
|ปาริชาติ บุญคล้าย
|ผู้อำนวยการฝ่ายบริการการตลาด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
|
|-
|14
|พนมนันทน์ สมิตานนท์
|กรรมการผู้จัดการฝ่ายครัวการบิน บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน)
|
|-
|15
|[[ภักดีหาญส์ หิมะทองคำ]]
|ที่ปรึกษารัฐมนตรีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
|
|-
|16
|ภูวษา สินธุวงศ์
|บริษัท กินไทย อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ประธานคลัสเตอร์พัฒนาธุรกิจอาหารแปรรูป
|
|-
|17
|วิศิษฐ์ ลิ้มลือชา
|รองประธานกรรมการหอการค้าไทยและประธานคณะกรรมการอาหารแปรรูปและอาหารแห่งอนาคต
|
|-
|18
|วินเซนต์ วรจิตร วิจิตรวาทการ
|คอลัมนิสต์ด้านอาหารและการท่องเที่ยว
|
|-
|19
|สมศักดิ์ รารองคำ
|นายกสมาคมเชฟประเทศไทย
|
|-
|20
|สรเทพ สตีฟ โรจน์พจนารัช
|ประธานชมรมผู้ประกอบธุรกิจร้านอาหาร
|
|-
|21
|ยศพล เวณุโกเศศ
|เลขาธิการคณะกรรมการอาชีวศึกษา
| rowspan="8" |แต่งตั้งเพิ่มเติม<ref name=":1"/>
|-
|22
|ศุภวรรณ ตีระรัตน์
|ผู้อำนวยการสถาบันอาหาร
|-
|23
|วราพรรณ ชัยชนะศิริ
|รองอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กองกิจการเครือข่ายทางวัฒนธรรม
|-
|24
|นายแพทย์เอกชัย เพียรศรีวัชรา
|รองอธิบดีกรมอนามัย
|-
|25
|จิตรพงศ์ พุ่มสอาด
|ผู้อำนวยการกองพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึกกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
|-
|26
|เอกพงศ์ มุสิกะเจริญ
|ผู้อำนวยการกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
|-
|27
|ปรียากร ศังขวณิช
|ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม
|-
|28
|ภูษิต ศศิธรานนท์
|กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็กซ์โปลิงค์ โกลบอล เน็ทเวอร์ค จำกัด
|-
|29
|จักรสิทธิ์ แก้ววิไล
|กองเลขานุการและวิเทศสัมพันธ์ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
|อนุกรรมการและเลขานุการ
|
|-
|30
|ยุวภา ใจบุญ
|ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิต สถาบันอาหาร
|rowspan="2" |อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
|
|-
|31
|สิทธิรงณ์ เร่งเงียบ
|ผู้อำนวยการกองพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
|
|-
|}

=== กีฬา ===
{| class="wikitable collapsible collapsed" style="text-align: center"
|-
! ลำดับ !! ชื่อ !! อาชีพ/ตำแหน่ง !! ตำแหน่งในคณะอนุกรรมการ !! หมายเหตุ
|-
|1
|ศาสตราจารย์[[พิมล ศรีวิกรม์]]
|นายก[[สมาคมกีฬาเทควันโดแห่งประเทศไทย]]
|ประธานอนุกรรมการ
|
|-
|2
|ฐาปนีย์ เกียรติไพบูลย์
|ผู้ว่าการ[[การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย]]
| rowspan="8" |อนุกรรมการ
|
|-
|3
|พันเอกธนพล ภักดีภูมิ
|ประธานสภามวยโลก มวยไทย
|
|-
|4
|จิติณัฐ อัษฎามงคล
|ประธานและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร[[วันแชมเปียนชิพ]]
|
|-
|5
|[[ชลิตรัตน์ จันทรุเบกษา]]
|นายกสมาคมกีฬาสควอชแห่งประเทศไทย
|
|-
|6
|ทนุเกียรติ จันทร์ชุม
|อดีตรองผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทยฝ่ายกีฬาอาชีพและกีฬามวย
|
|-
|7
|สมชาย พูลสวัสดิ์
|อดีตอธิบดีกรมสรรพสามิตและนายกสมาคมกีฬาคิกบ็อกซิ่งแห่งประเทศไทย
|
|-
|8
|พลเอกอรชัย บุญสุขจิตเสรี
|ที่ปรึกษาผู้อำนวยการศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (สนามมวยลุมพินี)
|
|-
|align="center"|9
|align="center"|ไพฑูร ชุติมากรกุล
|align="center"|นายกสมาคมนักข่าวช่างภาพกีฬาแห่งประเทศไทย
|align="center"|แต่งตั้งเพิ่มเติม<ref name=":1">[https://www.matichon.co.th/local/news_4474830 กก.ซอฟต์พาวเวอร์ ตั้งอนุฯเพิ่ม ด้าน ดนตรี-กีฬา-อาหาร ดึงบิ๊กค่ายเพลงดังเสริมทีม]</ref>
|-
|10
|ปรีชา ลาลุน
|รองผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทยฝ่ายกีฬาอาชีพและกีฬามวย
|อนุกรรมการและเลขานุการ
|
|-
|}

=== หนังสือ ===
{| class="wikitable collapsible collapsed" style="text-align: center"
|-
! ลำดับ !! ชื่อ !! อาชีพ/ตำแหน่ง !! ตำแหน่งในคณะอนุกรรมการ !! หมายเหตุ
|-
|1
|จรัญ หอมเทียนทอง
|อดีตนายก[[สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย]]
|ประธานอนุกรรมการ
|
|-
|2
|คำหอม ศรีนอก
|
|rowspan="14"|อนุกรรมการ
|
|-
|3
|เจน สงสมพันธุ์
|อดีตนายก[[สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย]]
|
|-
|4
|ณัฏฐ์ธรณ์ ทวีมงคลสวัสดิ์
|กรรมการ[[สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย]]
|
|-
|5
|ดวงพร สุทธิสมบูรณ์
|เหรัญญิก[[สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย]] และประธานกรรมการบริหารสำนักพิมพ์เพชรประกาย
|
|-
|6
|ถนัดวิทย์ โรจน์พจนรัตน์
|กรรมการผู้จัดการบริษัทสำนักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จำกัด
|
|-
|7
|ทิพย์สุดา สินชวาลวัฒน์
|อดีตนายก[[สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย]]
|
|-
|8
|ธีรภัทร เจริญสุข
|คอลัมนิสต์และกรรมการสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย
|
|-
|9
|[[ปราบดา หยุ่น]]
|กวีซีไรต์ ประจำปี พ.ศ. 2545
|rowspan="7"|แต่งตั้งเพิ่มเติม<ref name=":2">[https://www.matichon.co.th/economy/news_4533486 ตั้งเพิ่ม อนุกก.ซอฟต์พาวเวอร์ด้านหนังสือ-ออกแบบ มีปราบดา หยุ่น ด้วย]</ref><ref name=":4">{{cite news|URL=https://www.matichon.co.th/politics/news_4593037|title=กก.ซอฟต์พาวเวอร์ ตั้งอนุฯ เพิ่ม ด้านแฟชั่น-หนังสือ-เกม-ดนตรี มีชื่อผู้บริหารแบรนด์ดังพรึบ|work=[[มติชน]]|date=24 พฤษภาคม 2024|access-date=23 สิงหาคม 2024}}</ref>
|-
|11
|ปฐม อินทโรดม
|อุปนายกสมาคมการค้าดิจิทัลไทย
|-
|12
|วโรรส โรจนะ
|ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เด็กดี อินเตอร์แอคทีฟ จำกัด
|-
|13
|เจน จงสถิตย์วัฒนา
|รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริษัท นานมีบุ๊คส์ จำกัด
|-
|14
|
|ผู้จัดการสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย
|-
| 15
| โตมร ศุขปรีชา
| บรรณาธิการ นักเขียน นักแปล และคอลัมนิสต์
|-
| 16
|
| ผู้แทนสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
|-
|17
|พรทิพย์ งามพร้อมพันธุ์
|
|อนุกรรมการและเลขานุการ
|
|-
|}

=== ออกแบบ ===
{| class="wikitable collapsible collapsed" style="text-align: center"
|-
! ลำดับ !! ชื่อ !! อาชีพ/ตำแหน่ง !! ตำแหน่งในคณะอนุกรรมการ !! หมายเหตุ
|-
|1
|[[ดวงฤทธิ์ บุนนาค]]
|สถาปนิก
|ประธานอนุกรรมการ
|
|-
|2
|พงษ์สรวง ตาชุบ
|
|rowspan="8"|อนุกรรมการ
|
|-
|3
|พิพิธ โค้วสุวรรณ
|ผู้ร่วมก่อตั้งแบรนด์ SALT AND PEPPER
|
|-
|4
|ศตพร นวลละออง
|
|
|-
|5
|ศรัณญ อยู่คงดี
|ผู้ก่อตั้งแบรนด์ SARRAN
|
|-
|6
|[[อมตะ หลูไพบูลย์]]
|สถาปนิก
|
|-
|7
|อรรถพร คงคบสันติ
|ภูมิสถาปนิกและผู้บริหารบริษัท T.R.O.P
|
|-
|8
|สุมิตร สีมากุล
|นายกสมาคมดิจิทัลคอนเทนท์ไทย
|rowspan="2"|แต่งตั้งเพิ่มเติม
|-
|9
|อัญชนา ทองไพฑูรย์
|ผู้ร่วมก่อตั้งแบรนด์ SALT AND PEPPER
|-
|10
|ตริตาภรณ์ โพธิ์ศรี
|
|อนุกรรมการและเลขานุการ
|
|-
|}

=== การท่องเที่ยว ===
{| class="wikitable collapsible collapsed" style="text-align: center"
|-
! ลำดับ !! ชื่อ !! อาชีพ/ตำแหน่ง !! ตำแหน่งในคณะอนุกรรมการ !! หมายเหตุ
|-
|1
|มาริสา สุโกศล หนุนภักดี
|นายก[[สมาคมโรงแรมไทย]] และรองประธานกรรมการบริหารกลุ่มโรงแรมสุโกศล
|ประธานอนุกรรมการ
|
|-
|2
|จุฑามาศ วิศาลสิงห์
|กรรมการคณะกรรมการการท่องเที่ยวคุณภาพสูง และกรรมการผู้จัดการบริษัท Perfect Link Consulting Group จำกัด
|rowspan="11"|อนุกรรมการ
|
|-
|3
|ญนน์ โภคทรัพย์
|ประธานสมาคมผู้ค้าปลีกไทย รองประธานหอการค้าไทย และ[[ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร]] [[เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น|บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)]]
|
|-
|4
|[[ดลชัย บุณยะรัตเวช]]
|ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท แบรนด์ซเคพ จำกัด
|
|-
|5
|เทียนประสิทธิ์ ไชยภัทรานันท์
|อุปนายกสมาคมโรงแรมไทย
|
|-
|6
|บุณฑริก กุศลวิทย์
|ที่ปรึกษาสมาคมโรงแรมไทย
|
|-
|7
|ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ไพฑูรย์ มนต์พานทอง
|คณบดี[[คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์|คณะการจัดการการท่องเที่ยว]] [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]]
|
|-
|8
|ภูมิกิตติ์ รักแต่งาม
|อดีตนายกสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ตและประธานที่ปรึกษาสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต
|
|-
|9
|สมศักดิ์ บุญคำ
|ผู้ก่อตั้งและประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท Local Alike
|
|-
|10
|สุเมธ สุทัศน์ ณ อยุธยา
|นายกสมาคมส่งเสริมการประชุมนานาชาติ (ไทย)
|
|-
|11
|
|ผู้แทน[[การบินไทย|บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)]]
|
|-
|12
|
|ผู้แทนสมาคมสายการบินประเทศไทย
|
|-
|13
|เด่นเดือน เหลืองเช็ง
|ผู้อำนวยการฝ่ายสินค้า การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
|อนุกรรมการและเลขานุการ
|
|-
|14
|วัชรกฤต แย้มโอฐ
|หัวหน้างานความร่วมมือระหว่างประเทศ กองเลขานุการและวิเทศสัมพันธ์สำนักผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
|อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
|
|-
|}

=== เกม ===
{| class="wikitable collapsible collapsed" style="text-align: center"
|-
! ลำดับ !! ชื่อ !! อาชีพ/ตำแหน่ง !! ตำแหน่งในคณะอนุกรรมการ !! หมายเหตุ
|-
|1
|สิทธิชัย เทพไพฑูรย์
|(ประธาน) กรรมการสมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์เกมไทย
|ประธานอนุกรรมการ
|
|-
|2
|ธนัช จุวิวัฒน์
|ประธานกรรมการบริหาร บริษัท[[อิ๊กดราซิลกรุ๊ป]] จำกัด (มหาชน) (YGG)
|rowspan="11"|อนุกรรมการ
|
|-
|3
|ณัฐพร กาญจนภูมิ
|คณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร
|
|-
|4
|เนนิน อนันต์บัญชาชัย
|นายกสมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์เกมไทย
|
|-
|5
|ปวิธ ถาวรเลิศรัตน์
|
|
|-
|6
|รามิล ซาลฮานี
|ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท Nanuq
|
|-
|7
|วโรรส โรจนะ
|ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เด็กดี อินเตอร์แอคทีฟ จำกัด
|
|-
|8
|สราวดี ผดุงศิริเศรษฐ์
|ผู้ก่อตั้งร้านบอร์ดเกมลานละเล่น
|
|-
|9
|สันติ โหลทอง
|นายกสมาคมกีฬาอีสปอร์ตแห่งประเทศไทย
|
|-
|10
|สุรพงษ์ เลิศสิทธิชัย
|
|
|-
|11
|อิศร์ เตาลานนท์
|ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เน็กซอน (ไทยแลนด์)
|
|-
|12
|วัฒนชัย ตรีเดชา
|นายกสมาคมบอร์ดเกมแห่งประเทศไทย
|แต่งตั้งเพิ่มเติม
|-
|13
|ช้องนาง วิพุธานุพงษ์
|ผู้อำนวยการศูนย์กฎหมายศรีปทุม คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
|อนุกรรมการและเลขานุการ
|
|-
|}

=== แฟชั่น ===
{| class="wikitable collapsible collapsed" style="text-align: center"
|-
! ลำดับ !! ชื่อ !! อาชีพ/ตำแหน่ง !! ตำแหน่งในคณะอนุกรรมการ !! หมายเหตุ
|-
| 1
| อัจฉรา อัมพุช
| รองประธานกรรมการบริหารเดอะมอลล์กรุ๊ป
| ประธานอนุกรรมการ<ref name=":3"/>
|
|-
| 2
| ดร. [[สิริกร มณีรินทร์]]
| นายกสภาสถาบันวิทยาลัยชุมชนและผู้อำนวยการสถาบันช่างศิลป์ท้องถิ่น
| rowspan="3"| ที่ปรึกษาอนุกรรมการ
|
|-
| 3
| วิวัฒน์ หิรัญพฤกษ์
| ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอและแฟชั่นแบบยั่งยืน
|
|-
| 4
| จิตต์สิงห์ สมบุญ
| อาจารย์ที่ปรึกษาศิลปะนิพนธ์ที่ปรึกษาด้านสร้างสรรค์ศิลปินอิสระ
|
|-
| 5
| อินทิรา ทัพวงศ์
| นักออกแบบแฟชั่น ที่ปรึกษาด้านแฟชั่นบริษัทแอลเอ็มอี จำกัด
| rowspan="16"| อนุกรรมการ
|
|-
| 6
| นัดดาวดี บุญญะเดโช
| ประธานหลักสูตรแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง วิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
|
|-
| 7
| รติยา จันทรเทียร
| กรรมการผู้จัดการ PASAYA
|
|-
| 8
| สิทธิชัย ปริญญานุสรณ์
| รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ
|
|-
| 9
| สุริยน ศรีอรทัยกุล
| กรรมการผู้จัดการบริษัท บิวตี้เจมส์แฟคตอรี่ จำกัด
|
|-
| 10
| อัญรัตน์ พรประกฤต
| ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ยูบิลลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด
|
|-
| 11
| กฤษดา ภควัตสุนทร
| Artist Co-Founder James Dean Co.,Ltd
|
|-
| 12
| อนุวัติ วิเชียรณรัตน์
| ประธานกรรมการบริษัท โฟร์โนล็อค จำกัด
|
|-
| 13
| ศักดิ์สิทธิ์ พิศาลสุพงศ์
| ครีเอทีฟไดเรคเตอร์ Tube Gallery
|
|-
| 14
| ชำนัญ ภักดีสุข
| อดีตบรรณาธิการบริหาร นิตยสารฮาร์เปอร์ส บาซาร์ ประเทศไทย
|
|-
| 15
| นรีรัตน์ เตลาน
| ประธานฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท อีพแอนด์บอย จำกัด
|
|-
| 16
| วรวิทย์ ศิริพากย์
| CEO ปัญญ์ปุริ (PAÑPURI)
|
|-
| 17
| หม่อมหลวงภาวินี สันติศิริ ศุขสวัสดิ
| Managing partner บ.โยธกา
|
|-
| 18
| อภิรัฐ บุญเรืองถาวร
| นักออกแบบอิสระ
|
|-
| 19
| สุดา ยังให้ผล
| ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาอุตสาหกรรมสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ
|
|-
| 20
| สุจรรยา สุพลธนวณิชย์
| หัวหน้างานพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมและ SME สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ
|
|-
|}


== ทักก้า สแปลช ==
== ทักก้า สแปลช ==
'''ทักก้า สแปลช''' ({{lang-en|THACCA Splash}}) เป็นงานประชุมนานาชาติเกี่ยวกับซอฟต์พาวเวอร์ของประเทศไทย จัดขึ้นโดยรัฐบาลไทย ผ่านสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ (ครั้งที่ 1 จัดโดย[[คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ]]) เพื่อเป็นการประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์อย่างเป็นทางการ โดยครั้งแรกจัดขึ้นในวันที่ 28–30 มิถุนายน พ.ศ. 2567 ณ [[ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์]] โดยจะมีการแสดงวิสัยทัศน์ของผู้ที่ประสบความสำเร็จทั้งภาครัฐและเอกชน ตัวแทนจากแบรนด์ดังระดับโลกที่มาจากหลายอุตสาหกรรมอาทิ แฟชั่น เพลง ภาพยนตร์ หรืออาหาร<ref>{{cite news|URL=https://www.prachachat.net/d-life/news-1592430|title=THACCA SPLASH Soft Power Forum 2024 พบ 48 Speakers ระดับโลก|publisher=[[ประชาชาติ]]}}</ref>
'''ทักก้า สแปลช''' ({{langx|en|THACCA Splash}}) เป็นงานประชุมนานาชาติเกี่ยวกับซอฟต์พาวเวอร์ของประเทศไทย จัดขึ้นโดยรัฐบาลไทย ผ่านสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ (ครั้งที่ 1 จัดโดยคณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) และสำนักงาน ป.ย.ป.) เพื่อเป็นการประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์อย่างเป็นทางการ โดยครั้งแรกจัดขึ้นในวันที่ 28–30 มิถุนายน พ.ศ. 2567 ณ [[ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์]] โดยจะมีการแสดงวิสัยทัศน์ของผู้ที่ประสบความสำเร็จทั้งภาครัฐและเอกชน ตัวแทนจากแบรนด์ดังระดับโลกที่มาจากหลายอุตสาหกรรมอาทิ แฟชั่น เพลง ภาพยนตร์ หรืออาหาร<ref>{{cite news|URL=https://www.prachachat.net/d-life/news-1592430|title=THACCA SPLASH Soft Power Forum 2024 พบ 48 Speakers ระดับโลก|publisher=[[ประชาชาติ]]}}</ref>


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 1,104: บรรทัด 155:
* {{Cite journal|date=26 มีนาคม 2024|title=ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ พ.ศ. ....|url=https://files.law.go.th/dgaBackoffice/2024-03-26-18%3A28%3A27_%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%20%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%9A%20THACCA_Public%20Hearing%2025-Mar-24.pdf|journal=สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)|access-date=15 เมษายน 2024|via=ระบบกลางทางกฎหมาย}}
* {{Cite journal|date=26 มีนาคม 2024|title=ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ พ.ศ. ....|url=https://files.law.go.th/dgaBackoffice/2024-03-26-18%3A28%3A27_%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%20%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%9A%20THACCA_Public%20Hearing%2025-Mar-24.pdf|journal=สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)|access-date=15 เมษายน 2024|via=ระบบกลางทางกฎหมาย}}


[[หมวดหมู่:หน่วยงานของรัฐบาลไทย]]
[[หมวดหมู่:หน่วยงานที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี]]
[[หมวดหมู่:สำนักนายกรัฐมนตรี]]
[[หมวดหมู่:สำนักนายกรัฐมนตรี]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:56, 17 พฤศจิกายน 2567

สำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์
ภาพรวมหน่วยงาน
หน่วยงานก่อนหน้า
สำนักงานใหญ่1160 ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 (เบื้องต้น)
ต้นสังกัดหน่วยงานสำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (2567-ปัจจุบัน)
นายกรัฐมนตรี (หลัง พ.ร.บ. บังคับใช้)
เว็บไซต์thacca.go.th

สำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ (อังกฤษ: Thailand Creative Culture Agency; ชื่อเดิม: Thailand Creative Content Agency; ชื่อย่อ: THACCA) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ภายใต้การกำกับดูแลโดยตรงของนายกรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมซอฟต์พาวเวอร์ของประเทศไทย[1] ปัจจุบันเป็นหน่วยงานย่อยของสำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.) ซึ่งเป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ โดยที่ยังไม่จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ

ในอนาคต ภายหลังร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ พ.ศ. ... มีผลบังคับใช้ THACCA จะจัดตั้งขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐอย่างเป็นทางการผ่านการแปรสภาพจากสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) พร้อมทั้งรับโอนภารกิจการขับเคลื่อนซอฟต์พาวเวอร์จากสำนักงาน ป.ย.ป. มาดำเนินงานเองอย่างเต็มรูปแบบ และกำกับดูแลโดยคณะกรรมการนโยบายส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์แห่งชาติที่จะแปรสภาพมาจากคณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ[2]

ประวัติ

[แก้]

สำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ เป็นหน่วยงานที่เตรียมจัดตั้งขึ้นตามร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ พ.ศ. ... ซึ่งปัจจุบันยกร่างเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว โดยอยู่ระหว่างการประชาพิจารณ์ตั้งแต่วันที่ 1 - 30 เมษายน พ.ศ. 2567[2] ก่อนนำเข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี และคณะกรรมการกฤษฎีกาตามลำดับ ก่อนส่งกลับมายัง ครม. ในช่วงเดือนพฤษภาคม จากนั้น จะนำร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวเข้าสู่ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26 ภายในสมัยประชุมสามัญประจําปีครั้งที่ 3 ในช่วงไตรมาสที่ 3[3][4] และคาดว่าที่ประชุมจะอนุมัติทั้ง 3 วาระในช่วงเดือนธันวาคม จากนั้นจะเข้าสู่การพิจารณาในชั้นของวุฒิสภาไทย ชุดที่ 13 ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2568 และคาดว่าหากผ่านชั้นของวุฒิสภาแล้ว จะประกาศใช้พระราชบัญญัติเพื่อจัดตั้งองค์กรดังกล่าวได้ในช่วงครึ่งปีแรกของปี พ.ศ. 2568[1] อย่างไรก็ตาม มีการเปิดเว็บไซต์ทางการและสื่อสังคมของสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ขึ้นในนาม THACCA มาตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ โดยอยู่ภายใต้การดูแลของสำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (สำนักงาน ป.ย.ป.) ซึ่งเป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ[5]

ในบทเฉพาะกาลของร่างพระราชบัญญัตินี้กำหนดไว้ว่า หลังจากพระราชบัญญัตินี้บังคับใช้ ให้

  • คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ ทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการนโยบายส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์แห่งชาติไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายในไม่เกิน 180 วัน จึงจะถือว่าคณะกรรมการถูกยุบเลิกและแปรสภาพโดยสมบูรณ์
  • สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) จะถูกยุบเลิกและแปรสภาพเป็นสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ทันที รวมถึงรับโอนภารกิจการขับเคลื่อนซอฟต์พาวเวอร์จากสำนักงาน ป.ย.ป. มาดำเนินงานเองอย่างเต็มรูปแบบ แต่
    • ให้คณะกรรมการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทำหน้าที่คณะกรรมการบริหารสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการบริหารภายในไม่เกิน 180 วัน
    • ให้ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) ทำหน้าที่ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ไปพลางก่อน[2]

ภารกิจ

[แก้]

สำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ จะเป็นหน่วยงานยุทธศาสตร์ที่รวบรวมภารกิจและงบประมาณในการสนับสนุนอุตสาหกรรมซอฟต์พาวเวอร์ไว้โดยสมบูรณ์ และมีการวางแผนงานร่วมกันทั้งหน่วยงานรัฐและเอกชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมซอฟต์พาวเวอร์ของประเทศไทยในระดับนานาชาติ

โดยสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์จะทำหน้าที่สนับสนุนอุตสาหกรรมซอฟต์พาวเวอร์ ดังนี้

  1. จัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนการทำงานให้ไปในทิศทางเดียวกัน ต่อเนื่อง ชัดเจน ไม่ซ้ำซ้อน
  2. สนับสนุนด้านการเงิน โดยการตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาซอฟต์พาวเวอร์ เพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการ รวมถึงกำหนดสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อสนับสนุนทุกอุตสาหกรรม
  3. สนับสนุนองค์ความรู้ โดยการรวบรวมข้อมูลเชิงลึกด้านการตลาดทั้งในไทยและต่างประเทศ รวมถึงเผยแพร่และสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับซอฟต์พาวเวอร์
  4. สร้างผู้ประกอบการหน้าใหม่และส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขัน โดยการคุ้มครองลิขสิทธิ์ ทรัพย์สินทางปัญญา รับรองมาตรฐานอาชีพ ให้คำปรึกษาทางธุรกิจแก่ผู้ประกอบการ และกำหนดมาตรการส่งเสริมการค้าอย่างเสรีและเป็นธรรม
  5. เป็นศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ให้เอกชนสามารถติดต่อประสานงานหรือขออนุญาตจากภาครัฐในการทำงานอุตสาหกรรมซอฟต์พาวเวอร์ครบวงจร[6]

คณะกรรมการ

[แก้]

ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ได้กำหนดให้มีคณะกรรมการหลักจำนวน 4 คณะ คือ[2]

  1. คณะกรรมการนโยบายส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์แห่งชาติ มีหน้าที่จัดทำและติดตามยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ และแต่งตั้งคณะกรรมการพิเศษหรือคณะอนุกรรมการ โดยแปรสภาพจากคณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ
  2. คณะกรรมการพิเศษแต่ละด้าน มีหน้าที่ดำเนินภารกิจพิเศษตามที่คณะกรรมการนโยบายมอบหมาย
  3. คณะกรรมการบริหารสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ มีหน้าที่ดูแลกิจการทั่วไปของสำนักงาน โดยแปรสภาพมาจากคณะกรรมการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์
  4. คณะกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ มีหน้าที่บริหารกองทุน

คณะกรรมการนโยบายส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์แห่งชาติ

[แก้]

องค์ประกอบของคณะกรรมการนโยบายส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์แห่งชาติตามมาตรา 7 มีดังนี้

กองทุน

[แก้]

ตามมาตรา 53 ของร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ได้กำหนดให้จัดตั้ง กองทุนส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ เพื่อใช้จ่ายในกิจการเกี่ยวกับการส่งเสริม ยกระดับ พัฒนา และสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานและผู้ประกอบวิชาชีพในอุตสาหกรรมวัฒนธรรมสร้างสรรค์และผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมของประเทศไทย ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ ตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ โดยจะบริหารโดยคณะกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังนี้

  1. เงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให้
  2. เงินอุดหนุนจากรัฐบาลผ่านงบประมาณแผ่นดิน
  3. เงินที่คณะรัฐมนตรีโดยข้อเสนอของคณะกรรมการนโยบายให้โอนมาเป็นของกองทุน
  4. เงินรายได้จากสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
  5. ค่าธรรมเนียมการท่องเที่ยวภายในประเทศของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ตามอัตราที่คณะกรรมการนโยบายกำหนดและคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ
  6. ผลตอบแทนหรือรายได้จากการลงทุน การร่วมทุน หรือการให้การส่งเสริมของสำนักงานหรือกองทุน รวมถึงผลประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญาที่เป็นของสำนักงานหรือกองทุน
  7. เงินบริจาค
  8. เงินค่าปรับเป็นพินัยตามกฎหมายดังกล่าว
  9. เงินหรือทรัพย์สินที่ตกเป็นของกองทุนหรือที่กองทุนได้รับตามกฎหมาย รวมถึงเงินตามสัญญา
  10. ผลประโยชน์จากเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน

โดยเงินและทรัพย์สินเหล่านี้จะเป็นของสำนักงาน เพื่อใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของกองทุนโดยไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน

นอกจากนี้ คณะกรรมการนโยบายยังสามารถเสนอคณะรัฐมนตรีให้โอนเงินหรือทรัพย์สินจากกองทุนอื่น ๆ มาเป็นของกองทุนส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ตามจำนวนที่กำหนด ดังนี้

  1. กองทุนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ
  2. กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  3. กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
  4. กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ
  5. กองทุนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย
  6. กองทุนส่งเสริมศิลปะร่วมสมัย
  7. กองทุนส่งเสริมงานวัฒนธรรม
  8. ทุนหมุนเวียนอื่นที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์

เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ให้กองทุนเหล่านี้ดำเนินการโอนทรัพย์สินภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มต้นปีงบประมาณถัดไป[2]

ทักก้า สแปลช

[แก้]

ทักก้า สแปลช (อังกฤษ: THACCA Splash) เป็นงานประชุมนานาชาติเกี่ยวกับซอฟต์พาวเวอร์ของประเทศไทย จัดขึ้นโดยรัฐบาลไทย ผ่านสำนักงานส่งเสริมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ (ครั้งที่ 1 จัดโดยคณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) และสำนักงาน ป.ย.ป.) เพื่อเป็นการประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์อย่างเป็นทางการ โดยครั้งแรกจัดขึ้นในวันที่ 28–30 มิถุนายน พ.ศ. 2567 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยจะมีการแสดงวิสัยทัศน์ของผู้ที่ประสบความสำเร็จทั้งภาครัฐและเอกชน ตัวแทนจากแบรนด์ดังระดับโลกที่มาจากหลายอุตสาหกรรมอาทิ แฟชั่น เพลง ภาพยนตร์ หรืออาหาร[7]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 เปิดตัวเพจ THACCA ทางการ ลุยซอฟต์พาวเวอร์ อำนาจขึ้นตรงนายกฯ คาดชงครม.มี.ค.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "เปิดร่าง'พ.ร.บ.วัฒนธรรมสร้างสรรค์ฯ' ดึงเงิน'กองสลาก'-7 กองทุน ดัน'ซอฟต์พาวเวอร์' 11 สาขา". สำนักข่าวอิศรา. 21 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2024.
  3. "'พ.ร.บ.ซอฟต์พาวเวอร์'เข้าสภาฯสมัยหน้า 'รัฐบาล' ปักหมุดตั้ง 'THACCA' ปี 68". กรุงเทพธุรกิจ. 16 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2024.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  4. "ระดมสมอง ค้นจุดแข็ง สร้างพายุหมุน ผลักดัน "ซอฟต์พาวเวอร์" ให้ไปถึงระดับโลก". ผู้จัดการออนไลน์. 29 มีนาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2024.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  5. "การประชุมคณะอนุกรรมการด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์นโยบายซอฟต์พาวเวอร์ ครั้งที่ 1/2567". สำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง. 17 พฤษภาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2024.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  6. "'THACCA' ประกาศรายชื่อ คณะอนุกรรมการ 'ซอฟต์พาวเวอร์' 5 ด้าน". กรุงเทพธุรกิจ. 19 กุมภาพันธ์ 2024. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2024.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  7. "THACCA SPLASH Soft Power Forum 2024 พบ 48 Speakers ระดับโลก". ประชาชาติ.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]