ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะเลทรายอาตากามา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
JasperBot (คุย | ส่วนร่วม)
top: แทนที่แม่แบบ, replaced: {{lang-es| → {{langx|es|
 
(ไม่แสดง 11 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 8 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Atacama1.jpg|ทะเลทรายอาตากามา|thumb|250px|right]]
[[ไฟล์:Atacama1.jpg|ทะเลทรายอาตากามา|thumb|250px|right]]
'''ทะเลทรายอาตากามา''' ({{lang-es|Desierto de Atacama}}) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของ[[ประเทศเปรู]]ไปถึงตอนเหนือของ[[ประเทศชิลี]] เป็นระยะทางกว่า 960 กิโลเมตร กินพื้นที่ประมาณ 180,000 ตารางกิโลเมตร โดยสูงเฉลี่ย 610 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล [[ทะเลทราย]]แห่งนี้ได้ขึ้นชื่อว่าแห้งแล้งที่สุดของโลก<ref>[http://ngm.nationalgeographic.com/ngm/0308/feature3/ Parts of Chile's Atacama Desert haven't seen a drop of rain since recordkeeping began. Somehow, more than a million people squeeze life from this parched land.]</ref><ref>http://www.extremescience.com/DriestPlace.htm {{ลิงก์เสีย}}</ref><ref>http://quest.nasa.gov/challenges/marsanalog/egypt/AtacamaAdAstra.pdf</ref> ประกอบไปด้วยแอ่งดินเค็มแห้งแล้งหลายแอ่งติดต่อกัน แม้ว่าเกือบจะไม่มีพืชขึ้นเลย แต่ก็อุดมสมบูรณ์ไปด้วย[[ไนเตรต]] [[ทองแดง]] [[ไอโอดีน]] และ[[บอแรกซ์]] เมืองในทะเลทรายอย่างเช่นเมืองกาลามาประสบภาวะแล้งจัดยาวนานกว่า 400 ปี ซึ่งเพิ่งสิ้นสุดเมื่อปี ค.ศ. 1971
'''ทะเลทรายอาตากามา''' ({{langx|es|Desierto de Atacama}}) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของ[[ประเทศเปรู]]ไปถึงตอนเหนือของ[[ประเทศชิลี]] เป็นระยะทางกว่า 960 กิโลเมตร กินพื้นที่ประมาณ 180,000 ตารางกิโลเมตร โดยสูงเฉลี่ย 610 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล [[ทะเลทราย]]แห่งนี้ได้ขึ้นชื่อว่าแห้งแล้งที่สุดของโลก<ref>{{Cite web |url=http://ngm.nationalgeographic.com/ngm/0308/feature3/ |title=Parts of Chile's Atacama Desert haven't seen a drop of rain since recordkeeping began. Somehow, more than a million people squeeze life from this parched land. |access-date=2009-06-19 |archive-date=2007-12-18 |archive-url=https://web.archive.org/web/20071218212813/http://ngm.nationalgeographic.com/ngm/0308/feature3/ |url-status=dead }}</ref><ref>{{Cite web |url=http://www.extremescience.com/DriestPlace.htm |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2009-06-19 |archive-date=2009-04-08 |archive-url=https://web.archive.org/web/20090408100840/http://www.extremescience.com/DriestPlace.htm |url-status=dead }}</ref><ref>{{Cite web |url=http://quest.nasa.gov/challenges/marsanalog/egypt/AtacamaAdAstra.pdf |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2009-06-19 |archive-date=2012-06-06 |archive-url=https://www.webcitation.org/68Cu1UYk4?url=http://quest.nasa.gov/challenges/marsanalog/egypt/AtacamaAdAstra.pdf |url-status=dead }}</ref> ประกอบไปด้วยแอ่งดินเค็มแห้งแล้งหลายแอ่งติดต่อกัน แม้ว่าเกือบจะไม่มีพืชขึ้นเลย แต่ก็อุดมสมบูรณ์ไปด้วย[[ไนเตรต]] [[ทองแดง]] [[ไอโอดีน]] และ[[บอแรกซ์]] เมืองในทะเลทรายอย่างเช่นเมืองกาลามาประสบภาวะแล้งจัดยาวนานกว่า 400 ปี ซึ่งเพิ่งสิ้นสุดเมื่อปี ค.ศ. 1971


ในอดีต ทะเลทรายแห่งนี้เคยกลายเป็นชนวนเหตุของการก่อสงครามระหว่างโบลิเวียกับชิลี ซึ่งเดิมทีพื้นที่แห่งนี้อยู่ภายใต้การปกครองของโบลิเวีย แต่ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุ ทำให้ชิลีตัดสินใจใช้กำลังประหัตประหารหักเอาพื้นที่ดังกล่าว หลังจากรบพุ่งกันมาอย่างยาวนานในที่สุดทัพชิลีก็เป็นฝ่ายกำชัย ได้ยึดครองทะเลทรายอันกว้างใหญ่และเมืองท่า[[อันโตฟากัสตา]] (Antofagasta) ส่วนโบลิเวียก็ต้องถอยร่นยังในที่ตั้งอันสูงชันอย่างเช่นในปัจจุบัน สงครามแย่งชิงทะเลทรายในครั้งนั้นถูกเรียกว่า[[สงครามแปซิฟิก (ค.ศ. 1879-1883)|สงครามแปซิฟิก]]
ในอดีต ทะเลทรายแห่งนี้เคยกลายเป็นชนวนเหตุของการก่อสงครามระหว่างโบลิเวียกับชิลี ซึ่งเดิมทีพื้นที่แห่งนี้อยู่ภายใต้การปกครองของโบลิเวีย แต่ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุ ทำให้ชิลีตัดสินใจใช้กำลังประหัตประหารหักเอาพื้นที่ดังกล่าว หลังจากรบพุ่งกันมาอย่างยาวนานในที่สุดทัพชิลีก็เป็นฝ่ายกำชัย ได้ยึดครองทะเลทรายอันกว้างใหญ่และเมืองท่า[[อันโตฟากัสตา]] (Antofagasta) ส่วนโบลิเวียก็ต้องถอยร่นยังในที่ตั้งอันสูงชันอย่างเช่นในปัจจุบัน สงครามแย่งชิงทะเลทรายในครั้งนั้นถูกเรียกว่า[[สงครามมหาสมุทรแปซิฟิก (ค.ศ. 1879–1884)|สงครามแปซิฟิก]]


== สภาพภูมิศาสตร์ ==
== สภาพภูมิศาสตร์ ==
พื้นที่โดยทั่วไปของทะเลทรายอาตากามาถูกปกคลุมไปด้วยแอ่งดินสลับกับผืนทรายราบเรียบ ดูเวิ้งว้างและทอดยาวสุดลูกหูลูกตา สภาพทางภูมิศาสตร์ของทะเลทรายเป็นที่ราบสูงที่ลาดชันขนานไปกับแนว[[เทือกเขาแอนดีส]]ซึ่งเป็นเทือกเขาสูงตะหง่านที่ทอดยาวไปตามไหล่[[ทวีปอเมริกาใต้]] ส่วนด้านตะวันออกติดกับ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ในทะเลทรายมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปีเพียง 1 มิลลิเมตรเท่านั้น ในขณะที่บางพื้นที่ของทะเลทรายกลายเป็นพื้นที่ที่ไม่เคยมีฝนตกลงเลย การที่มีปริมาณฝนตกลงในพื้นที่ดังกล่าวเพียงจำนวนน้อยทำให้ทะเลทรายอาตากามากลายเป็นทะเลทรายที่แห้งแล้งและร้อนระอุที่สุดของโลก ในอาณาบริเวณของทะเลทรายเต็มไปด้วยทราย เกลือ และกระแสลาวา
พื้นที่โดยทั่วไปของทะเลทรายอาตากามาถูกปกคลุมไปด้วยแอ่งดินสลับกับผืนทรายราบเรียบ ดูเวิ้งว้างและทอดยาวสุดลูกหูลูกตา สภาพทางภูมิศาสตร์ของทะเลทรายเป็นที่ราบสูงที่ลาดชันขนานไปกับแนว[[เทือกเขาแอนดีส]]ซึ่งเป็นเทือกเขาสูงตะหง่านที่ทอดยาวไปตามไหล่[[ทวีปอเมริกาใต้]] ส่วนด้านตะวันตกติดกับ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ในทะเลทรายมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปีเพียง 1 มิลลิเมตรเท่านั้น ในขณะที่บางพื้นที่ของทะเลทรายกลายเป็นพื้นที่ที่ไม่เคยมีฝนตกลงเลย การที่มีปริมาณฝนตกลงในพื้นที่ดังกล่าวเพียงจำนวนน้อยทำให้ทะเลทรายอาตากามากลายเป็นทะเลทรายที่แห้งแล้งและร้อนระอุที่สุดของโลก ในอาณาบริเวณของทะเลทรายเต็มไปด้วยทราย เกลือ และกระแสลาวา


ความแห้งแล้งและความร้อนระอุที่เกิดขึ้นกับทะเลทรายอาตากามาเกิดจากปัจจัยสำคัญสองประการ คือการที่มีเทือกเขาสูงตะหง่านขวางกั้นอยู่ทางทิศตะวันออก ทำให้ลมและฝนไม่สามารถฝ่าปราการธรรมชาติเข้ามาถึงดินแดนแห่งนี้ได้ และแม้อีกฟากจะติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกแต่พื้นที่ดังกล่าวกลับถูกจัดให้เป็นพื้นที่ที่เรียกว่า แอนติไซโคลน (anticyclone) ซึ่งแทบจะไม่มีพายุพัดผ่าน ความร้อนระอุจึงถูกทับถมลงบนพื้นทรายโดยไม่มีปัจจัยให้ผ่อนคลายหรือระบายออกเลย ปัจจัยสำคัญทั้งสองประการเสริมให้ทะเลทรายอาตากามากลายเป็นพื้นที่ที่แห้งแล้งที่สุดในโลก แต่กระนั้น ทะเลทรายอาตากามาก็ใช่ว่าจะขาดความชุ่มชื้นเอาเสียเลย เพราะสายลมตะวันตกยังได้พัดพาไอระเหิดระเหยจากมหาสมุทรแปซิฟิกพัดผ่านเข้ามาสู่ทะเลทรายบ้างเป็นครั้งคราว แม้จะเป็นเพียงไอชุ่มฉ่ำเพียงเล็กน้อย แต่ก็มากพอให้สิ่งมีชีวิตบางชนิดสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้บนพื้นทรายอันแห้งผากแห่งนี้
ความแห้งแล้งและความร้อนระอุที่เกิดขึ้นกับทะเลทรายอาตากามาเกิดจากปัจจัยสำคัญสองประการ คือการที่มีเทือกเขาสูงตะหง่านขวางกั้นอยู่ทางทิศตะวันออก ทำให้ลมและฝนไม่สามารถฝ่าปราการธรรมชาติเข้ามาถึงดินแดนแห่งนี้ได้ และแม้อีกฟากจะติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกแต่พื้นที่ดังกล่าวกลับถูกจัดให้เป็นพื้นที่ที่เรียกว่า แอนติไซโคลน (anticyclone) ซึ่งแทบจะไม่มีพายุพัดผ่าน ความร้อนระอุจึงถูกทับถมลงบนพื้นทรายโดยไม่มีปัจจัยให้ผ่อนคลายหรือระบายออกเลย ปัจจัยสำคัญทั้งสองประการเสริมให้ทะเลทรายอาตากามากลายเป็นพื้นที่ที่แห้งแล้งที่สุดในโลก แต่กระนั้น ทะเลทรายอาตากามาก็ใช่ว่าจะขาดความชุ่มชื้นเอาเสียเลย เพราะสายลมตะวันตกยังได้พัดพาไอระเหิดระเหยจากมหาสมุทรแปซิฟิกพัดผ่านเข้ามาสู่ทะเลทรายบ้างเป็นครั้งคราว แม้จะเป็นเพียงไอชุ่มฉ่ำเพียงเล็กน้อย แต่ก็มากพอให้สิ่งมีชีวิตบางชนิดสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้บนพื้นทรายอันแห้งผากแห่งนี้
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

{{commons|Atacama Desert}}


{{ทะเลทราย}}
{{ทะเลทราย}}
{{โครงภูมิศาสตร์}}


[[หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์เปรู]]
[[หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์เปรู]]
บรรทัด 20: บรรทัด 21:
[[หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์อเมริกาใต้]]
[[หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์อเมริกาใต้]]
[[หมวดหมู่:ทะเลทรายในทวีปอเมริกาใต้|อาตากามา]]
[[หมวดหมู่:ทะเลทรายในทวีปอเมริกาใต้|อาตากามา]]
{{โครงภูมิศาสตร์}}

[[ml:അറ്റക്കാമ മരുഭൂമി]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 00:54, 7 พฤศจิกายน 2567

ทะเลทรายอาตากามา

ทะเลทรายอาตากามา (สเปน: Desierto de Atacama) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศเปรูไปถึงตอนเหนือของประเทศชิลี เป็นระยะทางกว่า 960 กิโลเมตร กินพื้นที่ประมาณ 180,000 ตารางกิโลเมตร โดยสูงเฉลี่ย 610 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ทะเลทรายแห่งนี้ได้ขึ้นชื่อว่าแห้งแล้งที่สุดของโลก[1][2][3] ประกอบไปด้วยแอ่งดินเค็มแห้งแล้งหลายแอ่งติดต่อกัน แม้ว่าเกือบจะไม่มีพืชขึ้นเลย แต่ก็อุดมสมบูรณ์ไปด้วยไนเตรต ทองแดง ไอโอดีน และบอแรกซ์ เมืองในทะเลทรายอย่างเช่นเมืองกาลามาประสบภาวะแล้งจัดยาวนานกว่า 400 ปี ซึ่งเพิ่งสิ้นสุดเมื่อปี ค.ศ. 1971

ในอดีต ทะเลทรายแห่งนี้เคยกลายเป็นชนวนเหตุของการก่อสงครามระหว่างโบลิเวียกับชิลี ซึ่งเดิมทีพื้นที่แห่งนี้อยู่ภายใต้การปกครองของโบลิเวีย แต่ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุ ทำให้ชิลีตัดสินใจใช้กำลังประหัตประหารหักเอาพื้นที่ดังกล่าว หลังจากรบพุ่งกันมาอย่างยาวนานในที่สุดทัพชิลีก็เป็นฝ่ายกำชัย ได้ยึดครองทะเลทรายอันกว้างใหญ่และเมืองท่าอันโตฟากัสตา (Antofagasta) ส่วนโบลิเวียก็ต้องถอยร่นยังในที่ตั้งอันสูงชันอย่างเช่นในปัจจุบัน สงครามแย่งชิงทะเลทรายในครั้งนั้นถูกเรียกว่าสงครามแปซิฟิก

สภาพภูมิศาสตร์

[แก้]

พื้นที่โดยทั่วไปของทะเลทรายอาตากามาถูกปกคลุมไปด้วยแอ่งดินสลับกับผืนทรายราบเรียบ ดูเวิ้งว้างและทอดยาวสุดลูกหูลูกตา สภาพทางภูมิศาสตร์ของทะเลทรายเป็นที่ราบสูงที่ลาดชันขนานไปกับแนวเทือกเขาแอนดีสซึ่งเป็นเทือกเขาสูงตะหง่านที่ทอดยาวไปตามไหล่ทวีปอเมริกาใต้ ส่วนด้านตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ในทะเลทรายมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปีเพียง 1 มิลลิเมตรเท่านั้น ในขณะที่บางพื้นที่ของทะเลทรายกลายเป็นพื้นที่ที่ไม่เคยมีฝนตกลงเลย การที่มีปริมาณฝนตกลงในพื้นที่ดังกล่าวเพียงจำนวนน้อยทำให้ทะเลทรายอาตากามากลายเป็นทะเลทรายที่แห้งแล้งและร้อนระอุที่สุดของโลก ในอาณาบริเวณของทะเลทรายเต็มไปด้วยทราย เกลือ และกระแสลาวา

ความแห้งแล้งและความร้อนระอุที่เกิดขึ้นกับทะเลทรายอาตากามาเกิดจากปัจจัยสำคัญสองประการ คือการที่มีเทือกเขาสูงตะหง่านขวางกั้นอยู่ทางทิศตะวันออก ทำให้ลมและฝนไม่สามารถฝ่าปราการธรรมชาติเข้ามาถึงดินแดนแห่งนี้ได้ และแม้อีกฟากจะติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกแต่พื้นที่ดังกล่าวกลับถูกจัดให้เป็นพื้นที่ที่เรียกว่า แอนติไซโคลน (anticyclone) ซึ่งแทบจะไม่มีพายุพัดผ่าน ความร้อนระอุจึงถูกทับถมลงบนพื้นทรายโดยไม่มีปัจจัยให้ผ่อนคลายหรือระบายออกเลย ปัจจัยสำคัญทั้งสองประการเสริมให้ทะเลทรายอาตากามากลายเป็นพื้นที่ที่แห้งแล้งที่สุดในโลก แต่กระนั้น ทะเลทรายอาตากามาก็ใช่ว่าจะขาดความชุ่มชื้นเอาเสียเลย เพราะสายลมตะวันตกยังได้พัดพาไอระเหิดระเหยจากมหาสมุทรแปซิฟิกพัดผ่านเข้ามาสู่ทะเลทรายบ้างเป็นครั้งคราว แม้จะเป็นเพียงไอชุ่มฉ่ำเพียงเล็กน้อย แต่ก็มากพอให้สิ่งมีชีวิตบางชนิดสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้บนพื้นทรายอันแห้งผากแห่งนี้

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Parts of Chile's Atacama Desert haven't seen a drop of rain since recordkeeping began. Somehow, more than a million people squeeze life from this parched land". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-12-18. สืบค้นเมื่อ 2009-06-19.
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-08. สืบค้นเมื่อ 2009-06-19.
  3. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-06. สืบค้นเมื่อ 2009-06-19.