ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำไย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 11638298 สร้างโดย 58.8.41.193 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
 
(ไม่แสดง 41 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 25 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{Taxobox
{{Taxobox
| color = lightgreen
| color = lightgreen
บรรทัด 19: บรรทัด 18:
}}
}}


'''ลำไย''' {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Dimocarpus longan}} (มักเขียนผิดเป็น ลำใย) มีชื่อเรียกทางพื้นบ้านภาคเหนือว่า "บ่าลำไย" ชื่อภาษาอังกฤษว่า Longan อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสีน้ำตาล ออกดอกเป็นช่อ สีขาวครีม ผลทรงกลมเป็นช่อ ผลดิบเปลือกสีน้ำตาลอมเขียว ผลสุกสีน้ำตาลล้วน เนื้อลำไยสีขาวหรือชมพูอ่อน เมล็ดสีดำเป็นมัน เนื้อล่อนเม็ด
'''ลำไย''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Dimocarpus longan}}, มักเขียนผิดเป็น ลำใย) มีชื่อเรียกทางพื้นบ้านภาคเหนือว่า "บ่าลำไย" ชื่อภาษาอังกฤษว่า Longan อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสีน้ำตาล ออกดอกเป็นช่อ สีขาวครีม ผลทรงกลมเป็นช่อ ผลดิบเปลือกสีน้ำตาลอมเขียว ผลสุกสีน้ำตาลล้วน เนื้อลำไยสีขาวหรือชมพูอ่อน เมล็ดสีดำเป็นมัน เนื้อล่อนเม็ด<ref>{{cite web |url=https://eto.ku.ac.th/neweto/e-book/plant/tree_fruit/puklamyai.pdf|title=การปลูกลำไย}}</ref><ref>{{cite web |url=https://warning.acfs.go.th/th/articles-and-research/view/?page=113|title=ความรู้เรื่องลำไย-สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ}}</ref>
[[File:ลำใย.jpg|thumb|]]
== ประวัติ ==
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}
เชื่อกันว่าลำไยมีต้นกำเนิดมาจาก[[เทือกเขา]]ระหว่าง[[เมียนมาร์]]และ[[จีนตอนใต้]] แหล่งกำเนิดอื่น ๆ ที่มีการรายงาน ได้แก่ [[อินเดีย]] [[ศรีลังกา]] เมียนมาร์ตอนบน [[ภาคเหนือ]]ของประเทศไทย [[กัมพูชา]] [[เวียดนามเหนือ]] และ[[นิวกินี]]


บันทึกการดำรงอยู่ที่เก่าแก่ที่สุดย้อนกลับไปถึงราชวงศ์ฮั่นใน พ.ศ. 343 [[จักรพรรดิ]]สั่งให้ปลูก[[ลิ้นจี่]]และต้นลำไยในสวนวังของเขาใน[[มณฑลส่านซี]] แต่ต้นไม้ล้มเหลว สี่ร้อยปีต่อมา ต้นลำไยเจริญรุ่งเรืองในส่วนอื่น ๆ ของจีนเช่น[[ฝูเจี้ยน]]และ[[กวางตุ้ง]] ซึ่งในไม่ช้าการผลิตลำไยก็กลายเป็น[[อุตสาหกรรม]]
== ประวัติ ลำไย ==
ลำไยเป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนและกึ่งร้อนของเอเชีย ซึ่งอาจมีถิ่นกำเนิดในอินเดียตะวันออก พม่าตอนเหนือและจีนตอนใต้ แต่ที่พบหลักฐานที่ปรากฏในวรรณคดีของจีนในสมัยพระเจ้าเซ็งแทงของจีนเมื่อ 1,766ปีก่อนคริสกาล และจากหนังสือ RuYa ของจีนเมื่อ 110ปีก่อนคริสตกาล ได้มีการกล่าวถึงลำไยไว้แล้ว และเมื่อชาวยุโรปได้เดินทางไปยังประเทศจีนเมื่อปีพ.ศ. 1514 ได้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับลำไยไว้ในปี พ.ศ. 1585 แสดงว่าลำไยมีการปลูกใน[[ประเทศจีน]]ที่[[มณฑลกวางตุ้ง]], [[มณฑลเสฉวน]] ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่[[มณฑลฝูเจี้ยน]]


ต่อมาเนื่องจาก[[การอพยพย้ายถิ่นฐาน]]และความต้องการ[[อาหาร]]ที่เพิ่มมากขึ้น ต้นลำไยจึงถูกนำมาใช้อย่างเป็นทางการใน[[ออสเตรเลีย]]เมื่อช่วงกลางปี พ.ศ. 2343 ประเทศไทยในช่วงปลายพุทธทศวรรษ 2340 [[ฮาวาย]] และ[[ฟลอริดา]]ในปี พ.ศ. 2443 สภาพ[[ดินทราย]]ที่อบอุ่นช่วยให้ต้นลำไยเติบโตได้ง่าย ทำให้อุตสาหกรรมลำไยเริ่มก้าวกระโดดในสถานที่เหล่านี้
ลำไยได้แพร่หลายเข้าไปใน[[ประเทศอินเดีย]], [[ศรีลังกา]] [[พม่า]] และประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเข้าสู่[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]]ในปลายพุทธศตวรรษที่25 ในประเทศไทยทางภาคเหนือมีลำไยพันธุ์พื้นเมืองเรียก "ลำไยกะลา" หรือลำไยธรรมดา <ref name = "ลำไย">นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 203 - 205</ref> ในสมัยรัชกาลที่6 มีชาวจีนนำพันธุ์ลำไยเข้ามาถวายพระราชชายาเจ้าดารารัศมีจำนวน5ต้น (ในปัจจุบันบัญญัติชื่อพันธุ์เบี้ยวเขียว) ทรงให้ปลูกที่เชียงใหม่ 3ต้น โดยปลูกที่สวนเจ้าสบาย ณ ที่ประทับของเจ้าดารารัศมีหลังเสด็จนิวัติกลับมาประทับถาวรเมื่อพระพุทธเจ้าหลวงรัชกาลที่5 เสด็จสวรรคต และส่งมาปลูกที่ตรอกจันทร์ กรุงเทพฯ 2ต้น <ref name = "ลำไย"/> หลักฐานที่พบเป็นต้นลำไยในสวนเก่าแก่ของ ร.อ.หลวงราญอริพล (เหรียญ ศัพทเสน) ที่ปลูกในตรอกจันทร์ถนนสาธุประดิษฐ์ใกล้วัดปริวาศในสมัยรัชกาลที่5 ต่อมามีการขยายพันธุ์จากต้นใน[[จังหวัดเชียงใหม่]] จากนั้นก็ขยายสู่ภูมิภาคต่างๆในภาคเหนือ โดยการเพาะเมล็ดจนเกิดการกลายพันธุ์ (Mutation) เกิดพันธุ์ใหม่ๆตามสภาพคุณลักษณะที่ดีของภูมิอากาศที่เหมาะสมและเกื้อกูลต่อการเจริญเติบโตของต้นลำไย


แม้จะประสบความสำเร็จมาอย่างยาวนานใน[[ประเทศจีน]] แต่ลำไยถือเป็นผลไม้ที่ค่อนข้างใหม่สำหรับ[[โลก]] ได้รับการยอมรับนอกประเทศจีนในช่วง 250 ปีที่ผ่านมาเท่านั้น การรับรู้ผลไม้ของชาวยุโรปครั้งแรกได้รับการบันทึกโดย Joao de Loureiro นักพฤกษศาสตร์นิกายเยซูอิตชาวโปรตุเกสในปี พ.ศ. 2333 รายการแรกอยู่ในผลงานสะสมของเขาคือ Flora Cochinchinensis
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง [[จังหวัดลำพูน]]มีสภาพภูมิประเทศเป็นดินทราย อยู่ในที่ลุ่มของลำน้ำหลายสาย จนเกิดลำไยต้นหมื่นที่บ้านหนองช้างคืน อำเภอเมืองลำพูน ซึ่งเก็บผลขายต้นเดียวได้ราคาเป็นหมื่น เมื่อปีพ.ศ. 2511 ผลิตผลต่อต้นได้ 40-50เข่ง พัฒนาการของลำไยในภูมิภาคนี้โดยเฉพาะที่จังหวัดลำพูน ถ้านับจากการเสด็จกลับเมืองเชียงใหม่ครั้งแรกของพระราชชายาเจ้าดารารัศมีเมื่อปีพ.ศ. 2457 จนถึงลำไยต้นหมื่นที่หนองช้างคืนเมื่อปีพ.ศ. 2511 มีการพัฒนาพันธุ์ร่วม90ปี จนขณะนี้มีลำไยมากมายหลายพันธุ์และมีการปลูกมากถึง157,220ไร่ {{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}

ปัจจุบัน ลำไยปลูกในภาคใต้ของ[[จีน]] [[ไต้หวัน]] ภาคเหนือของไทย [[มาเลเซีย]] [[อินโดนีเซีย]] กัมพูชา [[ลาว]] [[เวียดนาม]] [[อินเดีย]] [[ศรีลังกา]] [[ฟิลิปปินส์]] ออสเตรเลีย [[สหรัฐอเมริกา]] และ[[มอริเชียส]] มันยังปลูกใน[[บังคลาเทศ]]


== พันธุ์ลำไย ==
== พันธุ์ลำไย ==
ลำไยนั้นปลูกในหลายประเทศ แหล่งปลูกขนาดใหญ่คือประเทศจีนมีการปลูกลำไยถึง 26สายพันธุ์ โดยส่วนมากปลูกใน[[มณฑลกวางตุ้ง]] 12สายพันธุ์ ปลูกในประเทศไต้หวันอีก 15สายพันธุ์ ปลูกในสหรัฐอเมริกา 1สายพันธุ์ คือพันธุ์โคฮาลา และใน[[ประเทศเวียดนาม]] ซึ่งมีแหล่งปลูกลำไยขนาดใหญ่ไม่แพ้จากประเทศจีน โดยมักมักปลูกในเวียดนามทางตอนเหนือที่มีอากาศหนาวเย็น โดยพันธุ์ลำไยของเวียดนามนั้นนำเข้ามาจากประเทศจีน ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ทนได้ในอากาศเย็นจัดจนถึงจุดเยือกแข็ง ซึ่งต่างจากลำไยของประเทศไทยเกิดการกลายพันธุ์เป็นลำไยเมืองร้อน สามารถทนอุณหภูมิสูงได้ถึง40-43องศาในฤดูร้อน
ลำไยนิยมปลูกในหลายประเทศ แหล่งปลูกขนาดใหญ่คือประเทศจีนมีการปลูกลำไยถึง 26 สายพันธุ์ โดยส่วนมากปลูกใน[[มณฑลกวางตุ้ง]] 12 สายพันธุ์ ปลูกในประเทศไต้หวันอีก 15 สายพันธุ์ ปลูกในสหรัฐอเมริกา 1 สายพันธุ์ คือพันธุ์โคฮาลา และใน[[ประเทศเวียดนาม]] ซึ่งมีแหล่งปลูกลำไยขนาดใหญ่ไม่แพ้จากประเทศจีน โดยมักมักปลูกในเวียดนามทางตอนเหนือที่มีอากาศหนาวเย็น โดยพันธุ์ลำไยของเวียดนามนั้นนำเข้ามาจากประเทศจีน ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ทนได้ในอากาศเย็นจัดจนถึงจุดเยือกแข็ง ซึ่งต่างจากลำไยของประเทศไทยเกิดการกลายพันธุ์เป็นลำไยเมืองร้อน สามารถทนอุณหภูมิสูงได้ถึง 40-43 องศาในฤดูร้อน


===ลำไยไทย===
===ลำไยไทย===
ลำไยใน[[ประเทศไทย]] สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มและแยกเป็นชนิดย่อย เช่น กลุ่มลำไยพันธุ์ดี(ลำไยกะโหลก), กลุ่มลำไยป่า, กลุ่มลำไยพื้นเมือง(ลำไยกระดูก), กลุ่มลำไยเครือหรือลำไยเถา(ลำไยชลบุรี)
ลำไยใน[[ประเทศไทย]] สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มและแยกเป็นชนิดย่อย เช่น กลุ่มลำไยพันธุ์ดี (ลำไยกะโหลก), กลุ่มลำไยป่า, กลุ่มลำไยพื้นเมือง(ลำไยกระดูก), กลุ่มลำไยเครือหรือลำไยเถา(ลำไยชลบุรี)
* '''1. ลำไยกะโหลก''' เป็นพันธุ์ลำไยที่ให้ผลขนาดใหญ่มีเนื้อหนารสหวาน แบ่งเป็นอีกสายพันธุ์ย่อยอีก คือ
* '''1. ลำไยกะโหลก''' เป็นพันธุ์ลำไยที่ให้ผลขนาดใหญ่มีเนื้อหนารสหวาน แบ่งเป็นอีกสายพันธุ์ย่อยอีก คือ
** '''ลำไยสีชมพู''' มีผลใหญ่เนื้อหนา, เมล็ดเล็ก, เนื้อมีสีชมพูเรื่อๆ รสดีมากที่สุด
** '''ลำไยสีชมพู''' มีผลใหญ่เนื้อหนา, เมล็ดเล็ก, เนื้อมีสีชมพูเรื่อ ๆ รสดีมากที่สุด
** '''ลำไยตลับนาค''' มีผลใหญ่เนื้อหนา, เมล็ดเล็ก, หวานกรอบ, เนื้อแห้ง, เปลือกบาง
** '''ลำไยตลับนาค''' มีผลใหญ่เนื้อหนา, เมล็ดเล็ก, หวานกรอบ, เนื้อแห้ง, เปลือกบาง
** '''ลำไยเบี้ยวเขียว''' หรือลำไยอีเขียว ผลใหญ่กลมเบี้ยว เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบ เนื้อล่อน
** '''ลำไยเบี้ยวเขียว''' หรือลำไยอีเขียว ผลใหญ่กลมเบี้ยว เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบ เนื้อล่อน
บรรทัด 40: บรรทัด 44:
*** ''ลำไยอีแดงเปลือกหนา'' มีใบป้อมใหญ่ผลใหญ่
*** ''ลำไยอีแดงเปลือกหนา'' มีใบป้อมใหญ่ผลใหญ่
*** ''ลำไยอีแดงเปลือกบาง'' ใบยาวผลเล็กกว่าอีแดงเปลือกหนา
*** ''ลำไยอีแดงเปลือกบาง'' ใบยาวผลเล็กกว่าอีแดงเปลือกหนา
** '''ลำไยอีดอ''' ผลขนาดปานกลางมีเมล็ดเล็ก, รสหวาน เป็นลำไยที่มักออกดอกและเก็บผลผลิตก่อนพันธุ์อื่นๆ สามารถทนแล้งได้ดี ชาวสวนนิยมปลูกชนิดนี้มากที่สุด แบ่งเป็น2ชนิดย่อย คือ
** '''ลำไยอีดอ''' ผลขนาดปานกลางมีเมล็ดเล็ก, รสหวาน เป็นลำไยที่มักออกดอกและเก็บผลผลิตก่อนพันธุ์อื่น ๆ สามารถทนแล้งได้ดี ชาวสวนนิยมปลูกชนิดนี้มากที่สุด แบ่งเป็น2ชนิดย่อย คือ
***''ลำไยอีดอ-ยอดแดง'' ใบอ่อนมีสีแดง เจริญเติบโตเร็วมากเมื่อเปรียบเทียบกับอีดอยอดเขียว ไม่ค่อยนิยมปลูกเนื่องจากออกดอกติดผลไม่ดี
***''ลำไยอีดอ-ยอดแดง'' ใบอ่อนมีสีแดง เจริญเติบโตเร็วมากเมื่อเปรียบเทียบกับอีดอยอดเขียว ไม่ค่อยนิยมปลูกเนื่องจากออกดอกติดผลไม่ดี
*** ''ลำไยอีดอ-ยอดเขียว'' ใบอ่อนเป็นสีเขียว ออกดอกติดผลง่ายแต่อาจไม่สม่ำเสมอ
*** ''ลำไยอีดอ-ยอดเขียว'' ใบอ่อนเป็นสีเขียว ออกดอกติดผลง่ายแต่อาจไม่สม่ำเสมอ
** '''ลำไยอีดำ''' ผลใหญ่ ใบดำ เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบ
** '''ลำไยอีดำ''' ผลใหญ่ ใบดำ เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบ
** '''ลำไยอีแห้ว''' เป็นลำไยพันธุ์หนัก ลำต้นไม่ค่อยแข็งแรง เป็นพันธุ์ที่เจริญเติบโตดีมาก ทนแล้งได้ดี แบ่งออกเป็น2ชนิดย่อย คือ
** '''ลำไยอีแห้ว''' เป็นลำไยพันธุ์หนัก ลำต้นไม่ค่อยแข็งแรง เป็นพันธุ์ที่เจริญเติบโตดีมาก ทนแล้งได้ดี แบ่งออกเป็น 2 ชนิดย่อย คือ
*** ''ลำไยอีแห้ว-ยอดแดง'' มีใบอ่อนสีแดง เมล็ดมีขนาดปานกลาง
*** ''ลำไยอีแห้ว-ยอดแดง'' มีใบอ่อนสีแดง เมล็ดมีขนาดปานกลาง
*** ''ลำไยอีแห้ว-ยอดเขียว'' เมื่อแตกใบอ่อนมียอดสีเขียว ผลกลมใหญ่, หัวเบี้ยว เนื้อกรอบแต่ไม่หวาน
*** ''ลำไยอีแห้ว-ยอดเขียว'' เมื่อแตกใบอ่อนมียอดสีเขียว ผลกลมใหญ่, หัวเบี้ยว เนื้อกรอบแต่ไม่หวาน
** '''ลำไยอีเหลือง''' มีทรงพุ่มค่อนข้างกลม ออกผลดก กิ่งเปราะหักง่ายเมื่อมีผลดก ผลค่อนข้างกลมมีเนื้อสีขาวนวล เมล็ดกลม
** '''ลำไยอีเหลือง''' มีทรงพุ่มค่อนข้างกลม ออกผลดก กิ่งเปราะหักง่ายเมื่อมีผลดก ผลค่อนข้างกลมมีเนื้อสีขาวนวล เมล็ดกลม
** '''ลำไยพวงทอง''' เป็นพันธุ์ที่ช่อดอกขนาดใหญ่กว้าง ผลทรงค่อนข้างกลมและเบี้ยวเล็กน้อย ผิวสีน้ำตาลมีกระสีน้ำตาล เนื้อหนา กรอบ สีขาวครีม รสหวาน เมล็ดขนาดปานกลางและแบน ปลูกมากในภาคกลางตอนล่าง เช่น นครปฐม, สมุทรสาคร สันนิฐานว่ากลายพันธุ์จากเมล็ดมาจากลำไยกระโหลกและลำไยอีดอ
** '''ลำไยพวงทอง''' เป็นพันธุ์ที่ช่อดอกขนาดใหญ่กว้าง ผลทรงค่อนข้างกลมและเบี้ยวเล็กน้อย ผิวสีน้ำตาลมีกระสีน้ำตาล เนื้อหนา กรอบ สีขาวครีม รสหวาน เมล็ดขนาดปานกลางและแบน ปลูกมากในภาคกลางตอนล่าง เช่น นครปฐม, สมุทรสาคร สันนิฐานว่ากลายพันธุ์จากเมล็ดมาจากลำไยกระโหลกและลำไยอีดอ
** '''ลำไยเพชรสาครทวาย''' สามารถออกดอกมากกว่าหนึ่งครั้งต่อปี มีใบขนาดเล็ก เรียวแหลม ออกดอกและให้ผลผลิตปีละ 2 รุ่น คือรุ่นแรกออกดอกราวเดือนธันวาคม-มกราคม และเก็บผลได้ประมาณเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน, รุ่นที่สองออกดอกราวเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม เก็บเกี่ยวผลได้ในเดือนธันวาคม-มกราคม ผลกลม เปลือกบาง เนื้อมีสีขาวฉ่ำน้ำ
** '''ลำไยเพชรสาครทวาย''' สามารถออกดอกมากกว่าหนึ่งครั้งต่อปี มีใบขนาดเล็ก เรียวแหลม ออกดอกและให้ผลผลิตปีละ 2 รุ่น คือรุ่นแรกออกดอกราวเดือนธันวาคม-มกราคม และเก็บผลได้ประมาณเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน, รุ่นที่สองออกดอกราวเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม เก็บเกี่ยวผลได้ในเดือนธันวาคม-มกราคม ผลกลม เปลือกบาง เนื้อมีสีขาวฉ่ำน้ำ
** '''ลำไยปู่มาตีนโค้ง''' มีผลสวย ผลมีขนาดใหญ่สีเขียว ให้ผลดก แต่คุณภาพและรสชาดไม่ดี มีกลิ่นคาว เป็นสายพันธุ์ที่ไม่นิยมปลูกจึงหายากและเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์สูง มักพบในสวนลำไยรุ่นเก่าๆ
** '''ลำไยปู่มาตีนโค้ง''' มีผลสวย ผลมีขนาดใหญ่สีเขียว ให้ผลดก แต่คุณภาพและรสชาติไม่ดี มีกลิ่นคาว เป็นสายพันธุ์ที่ไม่นิยมปลูกจึงหายากและเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์สูง มักพบในสวนลำไยรุ่นเก่า ๆ


* '''2. ลำไยกระดูก หรือลำไยพื้นเมือง''' เป็นพันธุ์พื้นเมือง ทรงพุ่มกว้างใบหนาทึบ ผลเล็กมีน้ำมาก เนื้อน้อยไม่หวาน มีน้ำตาลประมาณ 13.75% ขึ้นได้ทั่วไปปลูกง่าย เหลือให้เห็นน้อยเพราะไม่นิยมปลูก เนื่องจากไม่มีราคา มีหลายสายพันธุ์ย่อยแต่มักเรียกรวมกันว่าลำไยพื้นเมือง
* '''2. ลำไยกระดูก หรือลำไยพื้นเมือง''' เป็นพันธุ์พื้นเมือง ทรงพุ่มกว้างใบหนาทึบ ผลเล็กมีน้ำมาก เนื้อน้อยไม่หวาน มีน้ำตาลประมาณ 13.75% ขึ้นได้ทั่วไปปลูกง่าย เหลือให้เห็นน้อยเพราะไม่นิยมปลูก เนื่องจากไม่มีราคา มีหลายสายพันธุ์ย่อยแต่มักเรียกรวมกันว่าลำไยพื้นเมือง
บรรทัด 65: บรรทัด 69:


== ประโยชน์ของลำไย ==
== ประโยชน์ของลำไย ==
เปลือกของต้นมีสีน้ำตาลอ่อนหรือเทาและมีรสฝาดใช้ต้มเป็นยาหม้อแก้ท้องร่วง ลำต้นมีขนาดใหญ่ สูงประมาณ 30-40 ฟุต เนื้อไม้มีสีแดงและแข็งสามารถใช้ทำเครื่องใช้ประดับบ้านได้ เนื้อลำไยกินสดเป็นผลไม้ ทำเป็นอาหารหวาน เช่น ข้าวเหนียวเปียกลำไย วุ้นลำไย ลำไยลอยแก้ว น้ำลำไย หรือแปรรูป เช่น บรรจุกระป๋อง ตากแห้งสามารถทำเป็นชาชงดื่ม เป็นยาบำรุงกำลังช่วยให้หลับสบายเจริญอาหาร แต่ถ้ากินลำไยมากเกินไปจะเกิดอาการร้อนใน แผลในปาก หรือตาแฉะได้<ref name = "ลำไย"/> ในตำรายาจีนเรียกกุ้ยหยวน (ภาษาจีนกลาง) หรือ กุ้ยอี้ (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) ใช้เป็นยาบำรุงเลือด กล่อมประสาท<ref>ภาสกิจ วัณณาวิบูล. รู้เลือกรู้ใช้ 100 ยาจีน. กทม. ทองเกษม. 2555</ref>
เปลือกของต้นมีสีน้ำตาลอ่อนหรือเทาและมีรสฝาดใช้ต้มเป็นยาหม้อแก้ท้องร่วง ลำต้นมีขนาดใหญ่ สูงประมาณ 30-40 ฟุต เนื้อไม้มีสีแดงและแข็งสามารถใช้ทำเครื่องใช้ประดับบ้านได้ เนื้อลำไยกินสดเป็นผลไม้ ทำเป็นอาหารหวาน เช่น ข้าวเหนียวเปียกลำไย วุ้นลำไย ลำไยลอยแก้ว น้ำลำไย หรือแปรรูป เช่น บรรจุกระป๋อง ตากแห้งสามารถทำเป็นชาชงดื่ม เป็นยาบำรุงกำลังช่วยให้หลับสบายเจริญอาหาร แต่ถ้ากินลำไยมากเกินไปจะเกิดอาการร้อนใน แผลในปาก หรือตาแฉะได้<ref name="ลำไย">นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 203 - 205</ref> ในตำรายาจีนเรียกกุ้ยหยวน (ภาษาจีนกลาง) หรือ กุ้ยอี้ (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) ใช้เป็นยาบำรุงเลือด กล่อมประสาท<ref>ภาสกิจ วัณณาวิบูล. รู้เลือกรู้ใช้ 100 ยาจีน. กทม. ทองเกษม. 2555</ref>
=== คุณค่าทางอาหารของลำไย ===
=== คุณค่าทางอาหารของลำไย ===
กองวิทยาศาสตร์กรมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยได้ทำการวิเคราะห์ส่วนประกอบของลำไยปรากฏผลว่า{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}
กองวิทยาศาสตร์กรมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยได้ทำการวิเคราะห์ส่วนประกอบของลำไยปรากฏผลว่า{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}
# ลำไยสดทั่วไปประกอบด้วยน้ำ81.1%คาร์โบไฮเดรต16.98%โปรตีน0.97%เถ้า0.56%กาก0.28%และไขมัน 0.11%
# ลำไยสดทั่วไปประกอบด้วยน้ำ 81.1% คาร์โบไฮเดรต 16.98% โปรตีน 0.97% เถ้า 0.56% กาก0.28% และไขมัน 0.11%
# ในลำไยสด100กรัมจะมีค่าความร้อน72.8แคลอรีและมีวิตามิน69.2มิลลิกรัมแคลเซียม57มิลลิกรัมฟอสฟอรัส35.17มิลลิกรัมและธาตุเหล็ก0.35มิลลิกรัม
# ในลำไยสด 100 กรัมจะมีค่าความร้อน 72.8 แคลอรีและมีวิตามิน 69.2 มิลลิกรัมแคลเซียม 57 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 35.17 มิลลิกรัม และธาตุเหล็ก 0.35 มิลลิกรัม
# ลำไยแห้งประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต 69.06%น้ำ 21.27%โปรตีน 4.61%เถ้า 3.33%กาก 1.50%และไขมัน 0.171%
# ลำไยแห้งประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต 69.06% น้ำ 21.27% โปรตีน 4.61% เถ้า 3.33% กาก 1.50% และไขมัน 0.171%
# ลำไยแห้ง 100กรัมจะมีค่าความร้อน 296.1แคลอรี แคลเซียม 32.05มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 150.5มิลลิกรัมโซเดียม 4.78มิลลิกรัม เหล็ก 2.85มิลลิกรัม โพแทสเซียม 1390.3มิลลิกรัม กรดแฟนโทซินิค 0.72มิลลิกรัมวิตามินบี 12จำนวน 1.08มิลลิกรัม
# ลำไยแห้ง 100 กรัม จะมีค่าความร้อน 296.1 แคลอรี แคลเซียม 32.05 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 150.5 มิลลิกรัม โซเดียม 4.78 มิลลิกรัม เหล็ก 2.85 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 1390.3 มิลลิกรัม กรดแฟนโทซินิค 0.72 มิลลิกรัม วิตามินบี 12 จำนวน 1.08 มิลลิกรัม


ในเมล็ดลำไยมีปริมาณโปรตีนรวม 6.5% ปริมาณไขมันรวม1.94% และปริมาณเยื่อใยรวมเป็น 8.33% ค่าพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้จริงเป็น 3,365 kcal/kg สามารถนำไปใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารสัตว์ได้ ในเปลือกหุ้มเมล็ดของลำไยมีปริมาณ[[แทนนิน]]สูง<ref>บัวเรียม มณีวรรณ์*ทองเลียน บัวจูม เผ่าพงษ์ ปูระณะพงษ์ และ โยธิน นันตา.[http://dra.research.nu.ac.th/nurc7/filesns7/981.pdf การศึกษาองค์ประกอบทางเคมี การย่อยได้ของโภชนะ และพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้ของเมล็ดลำไยและเนื้อในเมล็ดลำไยในไก่พื้นเมือง]. การประชุมวิชาการนเรศวรวิจัยครั้งที่ 7 29 – 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2554</ref>
ในเมล็ดลำไยมีปริมาณโปรตีนรวม 6.5% ปริมาณไขมันรวม 1.94% และปริมาณเยื่อใยรวมเป็น 8.33% ค่าพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้จริงเป็น 3,365 kcal/kg สามารถนำไปใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารสัตว์ได้ ในเปลือกหุ้มเมล็ดของลำไยมีปริมาณ[[แทนนิน]]สูง<ref>บัวเรียม มณีวรรณ์*ทองเลียน บัวจูม เผ่าพงษ์ ปูระณะพงษ์ และ โยธิน นันตา.[http://dra.research.nu.ac.th/nurc7/filesns7/981.pdf การศึกษาองค์ประกอบทางเคมี การย่อยได้ของโภชนะ และพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้ของเมล็ดลำไยและเนื้อในเมล็ดลำไยในไก่พื้นเมือง]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}. การประชุมวิชาการนเรศวรวิจัยครั้งที่ 7 29 – 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2554</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Dimocarpus longan}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:วงศ์เงาะ]]
[[หมวดหมู่:วงศ์เงาะ]]
[[หมวดหมู่:ผลไม้]]
[[หมวดหมู่:ผลไม้]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
[[หมวดหมู่:ไม้ผล]]

{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Dimocarpus longan}}
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:31, 21 กรกฎาคม 2567

ลำไย
ลำไยออกผลเป็นพวง
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Sapindales
วงศ์: Sapindaceae
สกุล: Dimocarpus
สปีชีส์: D.  longan
ชื่อทวินาม
Dimocarpus longan
Lour.

ลำไย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dimocarpus longan, มักเขียนผิดเป็น ลำใย) มีชื่อเรียกทางพื้นบ้านภาคเหนือว่า "บ่าลำไย" ชื่อภาษาอังกฤษว่า Longan อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสีน้ำตาล ออกดอกเป็นช่อ สีขาวครีม ผลทรงกลมเป็นช่อ ผลดิบเปลือกสีน้ำตาลอมเขียว ผลสุกสีน้ำตาลล้วน เนื้อลำไยสีขาวหรือชมพูอ่อน เมล็ดสีดำเป็นมัน เนื้อล่อนเม็ด[1][2]

ประวัติ

[แก้]

เชื่อกันว่าลำไยมีต้นกำเนิดมาจากเทือกเขาระหว่างเมียนมาร์และจีนตอนใต้ แหล่งกำเนิดอื่น ๆ ที่มีการรายงาน ได้แก่ อินเดีย ศรีลังกา เมียนมาร์ตอนบน ภาคเหนือของประเทศไทย กัมพูชา เวียดนามเหนือ และนิวกินี

บันทึกการดำรงอยู่ที่เก่าแก่ที่สุดย้อนกลับไปถึงราชวงศ์ฮั่นใน พ.ศ. 343 จักรพรรดิสั่งให้ปลูกลิ้นจี่และต้นลำไยในสวนวังของเขาในมณฑลส่านซี แต่ต้นไม้ล้มเหลว สี่ร้อยปีต่อมา ต้นลำไยเจริญรุ่งเรืองในส่วนอื่น ๆ ของจีนเช่นฝูเจี้ยนและกวางตุ้ง ซึ่งในไม่ช้าการผลิตลำไยก็กลายเป็นอุตสาหกรรม

ต่อมาเนื่องจากการอพยพย้ายถิ่นฐานและความต้องการอาหารที่เพิ่มมากขึ้น ต้นลำไยจึงถูกนำมาใช้อย่างเป็นทางการในออสเตรเลียเมื่อช่วงกลางปี พ.ศ. 2343 ประเทศไทยในช่วงปลายพุทธทศวรรษ 2340 ฮาวาย และฟลอริดาในปี พ.ศ. 2443 สภาพดินทรายที่อบอุ่นช่วยให้ต้นลำไยเติบโตได้ง่าย ทำให้อุตสาหกรรมลำไยเริ่มก้าวกระโดดในสถานที่เหล่านี้

แม้จะประสบความสำเร็จมาอย่างยาวนานในประเทศจีน แต่ลำไยถือเป็นผลไม้ที่ค่อนข้างใหม่สำหรับโลก ได้รับการยอมรับนอกประเทศจีนในช่วง 250 ปีที่ผ่านมาเท่านั้น การรับรู้ผลไม้ของชาวยุโรปครั้งแรกได้รับการบันทึกโดย Joao de Loureiro นักพฤกษศาสตร์นิกายเยซูอิตชาวโปรตุเกสในปี พ.ศ. 2333 รายการแรกอยู่ในผลงานสะสมของเขาคือ Flora Cochinchinensis

ปัจจุบัน ลำไยปลูกในภาคใต้ของจีน ไต้หวัน ภาคเหนือของไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย กัมพูชา ลาว เวียดนาม อินเดีย ศรีลังกา ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และมอริเชียส มันยังปลูกในบังคลาเทศ

พันธุ์ลำไย

[แก้]

ลำไยนิยมปลูกในหลายประเทศ แหล่งปลูกขนาดใหญ่คือประเทศจีนมีการปลูกลำไยถึง 26 สายพันธุ์ โดยส่วนมากปลูกในมณฑลกวางตุ้ง 12 สายพันธุ์ ปลูกในประเทศไต้หวันอีก 15 สายพันธุ์ ปลูกในสหรัฐอเมริกา 1 สายพันธุ์ คือพันธุ์โคฮาลา และในประเทศเวียดนาม ซึ่งมีแหล่งปลูกลำไยขนาดใหญ่ไม่แพ้จากประเทศจีน โดยมักมักปลูกในเวียดนามทางตอนเหนือที่มีอากาศหนาวเย็น โดยพันธุ์ลำไยของเวียดนามนั้นนำเข้ามาจากประเทศจีน ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ทนได้ในอากาศเย็นจัดจนถึงจุดเยือกแข็ง ซึ่งต่างจากลำไยของประเทศไทยเกิดการกลายพันธุ์เป็นลำไยเมืองร้อน สามารถทนอุณหภูมิสูงได้ถึง 40-43 องศาในฤดูร้อน

ลำไยไทย

[แก้]

ลำไยในประเทศไทย สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มและแยกเป็นชนิดย่อย เช่น กลุ่มลำไยพันธุ์ดี (ลำไยกะโหลก), กลุ่มลำไยป่า, กลุ่มลำไยพื้นเมือง(ลำไยกระดูก), กลุ่มลำไยเครือหรือลำไยเถา(ลำไยชลบุรี)

  • 1. ลำไยกะโหลก เป็นพันธุ์ลำไยที่ให้ผลขนาดใหญ่มีเนื้อหนารสหวาน แบ่งเป็นอีกสายพันธุ์ย่อยอีก คือ
    • ลำไยสีชมพู มีผลใหญ่เนื้อหนา, เมล็ดเล็ก, เนื้อมีสีชมพูเรื่อ ๆ รสดีมากที่สุด
    • ลำไยตลับนาค มีผลใหญ่เนื้อหนา, เมล็ดเล็ก, หวานกรอบ, เนื้อแห้ง, เปลือกบาง
    • ลำไยเบี้ยวเขียว หรือลำไยอีเขียว ผลใหญ่กลมเบี้ยว เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบ เนื้อล่อน
    • ลำไยอีแดง สีเปลือกของผลค่อนข้างแดง เป็นพันธุ์ขนาดกลาง กิ่งเปราะหักง่าย ผลกลมใหญ่ เมล็ดใหญ่ รสหวานแบ่งออกเป็น 2ชนิดย่อย คือ
      • ลำไยอีแดงเปลือกหนา มีใบป้อมใหญ่ผลใหญ่
      • ลำไยอีแดงเปลือกบาง ใบยาวผลเล็กกว่าอีแดงเปลือกหนา
    • ลำไยอีดอ ผลขนาดปานกลางมีเมล็ดเล็ก, รสหวาน เป็นลำไยที่มักออกดอกและเก็บผลผลิตก่อนพันธุ์อื่น ๆ สามารถทนแล้งได้ดี ชาวสวนนิยมปลูกชนิดนี้มากที่สุด แบ่งเป็น2ชนิดย่อย คือ
      • ลำไยอีดอ-ยอดแดง ใบอ่อนมีสีแดง เจริญเติบโตเร็วมากเมื่อเปรียบเทียบกับอีดอยอดเขียว ไม่ค่อยนิยมปลูกเนื่องจากออกดอกติดผลไม่ดี
      • ลำไยอีดอ-ยอดเขียว ใบอ่อนเป็นสีเขียว ออกดอกติดผลง่ายแต่อาจไม่สม่ำเสมอ
    • ลำไยอีดำ ผลใหญ่ ใบดำ เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบ
    • ลำไยอีแห้ว เป็นลำไยพันธุ์หนัก ลำต้นไม่ค่อยแข็งแรง เป็นพันธุ์ที่เจริญเติบโตดีมาก ทนแล้งได้ดี แบ่งออกเป็น 2 ชนิดย่อย คือ
      • ลำไยอีแห้ว-ยอดแดง มีใบอ่อนสีแดง เมล็ดมีขนาดปานกลาง
      • ลำไยอีแห้ว-ยอดเขียว เมื่อแตกใบอ่อนมียอดสีเขียว ผลกลมใหญ่, หัวเบี้ยว เนื้อกรอบแต่ไม่หวาน
    • ลำไยอีเหลือง มีทรงพุ่มค่อนข้างกลม ออกผลดก กิ่งเปราะหักง่ายเมื่อมีผลดก ผลค่อนข้างกลมมีเนื้อสีขาวนวล เมล็ดกลม
    • ลำไยพวงทอง เป็นพันธุ์ที่ช่อดอกขนาดใหญ่กว้าง ผลทรงค่อนข้างกลมและเบี้ยวเล็กน้อย ผิวสีน้ำตาลมีกระสีน้ำตาล เนื้อหนา กรอบ สีขาวครีม รสหวาน เมล็ดขนาดปานกลางและแบน ปลูกมากในภาคกลางตอนล่าง เช่น นครปฐม, สมุทรสาคร สันนิฐานว่ากลายพันธุ์จากเมล็ดมาจากลำไยกระโหลกและลำไยอีดอ
    • ลำไยเพชรสาครทวาย สามารถออกดอกมากกว่าหนึ่งครั้งต่อปี มีใบขนาดเล็ก เรียวแหลม ออกดอกและให้ผลผลิตปีละ 2 รุ่น คือรุ่นแรกออกดอกราวเดือนธันวาคม-มกราคม และเก็บผลได้ประมาณเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน, รุ่นที่สองออกดอกราวเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม เก็บเกี่ยวผลได้ในเดือนธันวาคม-มกราคม ผลกลม เปลือกบาง เนื้อมีสีขาวฉ่ำน้ำ
    • ลำไยปู่มาตีนโค้ง มีผลสวย ผลมีขนาดใหญ่สีเขียว ให้ผลดก แต่คุณภาพและรสชาติไม่ดี มีกลิ่นคาว เป็นสายพันธุ์ที่ไม่นิยมปลูกจึงหายากและเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์สูง มักพบในสวนลำไยรุ่นเก่า ๆ
  • 2. ลำไยกระดูก หรือลำไยพื้นเมือง เป็นพันธุ์พื้นเมือง ทรงพุ่มกว้างใบหนาทึบ ผลเล็กมีน้ำมาก เนื้อน้อยไม่หวาน มีน้ำตาลประมาณ 13.75% ขึ้นได้ทั่วไปปลูกง่าย เหลือให้เห็นน้อยเพราะไม่นิยมปลูก เนื่องจากไม่มีราคา มีหลายสายพันธุ์ย่อยแต่มักเรียกรวมกันว่าลำไยพื้นเมือง
  • 3. ลำไยกะลา หรือลำไยธรรมดา ผลปานกลาง เนื้อหนากว่าลำไยพันธุ์กระดูก เนื้อกรอบบางมีน้ำมาก ให้ผลดก
  • 4. ลำไยสายน้ำผึ้ง ลักษณะคล้ายลำไยธรรมดา แต่เนื้อมีสีเหลืองอ่อน เนื้อมีรสดี หอมกรอบ เมล็ดเล็ก
  • 5. ลำไยเถา หรือลำไยเครือ เป็นไม้ต้นรอเลื้อย ลำต้นไม่มีแก่นจึงพันเข้ากับรั้วหรือหลัก ผลเล็ก, เมล็ดโตกว่าลำไยบ้าน, เนื้อหุ้มเมล็ดบางมีเนื้อน้อย รสชาติมีกลิ่นคล้ายกำมะถันจึงนิยมปลูกไว้ประดับมากกว่ารับประทาน [3] นิยมปลูกไว้ประดับมากกว่าปลูกไว้รับประทาน ชอบขึ้นตามป่าเขา
  • 6. ลำไยขาว เป็นลำไยพันธุ์โบราณหายาก ในครั้งหนึ่งเชื่อว่าเคยสูญพันธุ์ไปแล้วจากประเทศไทย แต่ในปี พ.ศ. 2554 ได้มีการตามหาและตอนกิ่งขยายพันธุ์อีกครั้งหนึ่ง ผลขนาดเล็กกว่าลำไยทั่วไป เปลือกสีน้ำตาลอ่อนเกือบขาว เนื้อสีขาวใส เมล็ดลีบ รสหวาน [4]

และยังมีลำอีกอยากหลายชนิดที่ยังไม่ถูกจำแนก เช่น ลำไยใบหยก, ลำไยอีสร้อย, ลำไยตอหลวง, ลำไยเพรชน้ำเอก, ลำไยพวงเพชรบ้านแพ้ว เป็นต้น ฯลฯ

ประโยชน์ของลำไย

[แก้]

เปลือกของต้นมีสีน้ำตาลอ่อนหรือเทาและมีรสฝาดใช้ต้มเป็นยาหม้อแก้ท้องร่วง ลำต้นมีขนาดใหญ่ สูงประมาณ 30-40 ฟุต เนื้อไม้มีสีแดงและแข็งสามารถใช้ทำเครื่องใช้ประดับบ้านได้ เนื้อลำไยกินสดเป็นผลไม้ ทำเป็นอาหารหวาน เช่น ข้าวเหนียวเปียกลำไย วุ้นลำไย ลำไยลอยแก้ว น้ำลำไย หรือแปรรูป เช่น บรรจุกระป๋อง ตากแห้งสามารถทำเป็นชาชงดื่ม เป็นยาบำรุงกำลังช่วยให้หลับสบายเจริญอาหาร แต่ถ้ากินลำไยมากเกินไปจะเกิดอาการร้อนใน แผลในปาก หรือตาแฉะได้[5] ในตำรายาจีนเรียกกุ้ยหยวน (ภาษาจีนกลาง) หรือ กุ้ยอี้ (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) ใช้เป็นยาบำรุงเลือด กล่อมประสาท[6]

คุณค่าทางอาหารของลำไย

[แก้]

กองวิทยาศาสตร์กรมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยได้ทำการวิเคราะห์ส่วนประกอบของลำไยปรากฏผลว่า[ต้องการอ้างอิง]

  1. ลำไยสดทั่วไปประกอบด้วยน้ำ 81.1% คาร์โบไฮเดรต 16.98% โปรตีน 0.97% เถ้า 0.56% กาก0.28% และไขมัน 0.11%
  2. ในลำไยสด 100 กรัมจะมีค่าความร้อน 72.8 แคลอรีและมีวิตามิน 69.2 มิลลิกรัมแคลเซียม 57 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 35.17 มิลลิกรัม และธาตุเหล็ก 0.35 มิลลิกรัม
  3. ลำไยแห้งประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต 69.06% น้ำ 21.27% โปรตีน 4.61% เถ้า 3.33% กาก 1.50% และไขมัน 0.171%
  4. ลำไยแห้ง 100 กรัม จะมีค่าความร้อน 296.1 แคลอรี แคลเซียม 32.05 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 150.5 มิลลิกรัม โซเดียม 4.78 มิลลิกรัม เหล็ก 2.85 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 1390.3 มิลลิกรัม กรดแฟนโทซินิค 0.72 มิลลิกรัม วิตามินบี 12 จำนวน 1.08 มิลลิกรัม

ในเมล็ดลำไยมีปริมาณโปรตีนรวม 6.5% ปริมาณไขมันรวม 1.94% และปริมาณเยื่อใยรวมเป็น 8.33% ค่าพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้จริงเป็น 3,365 kcal/kg สามารถนำไปใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารสัตว์ได้ ในเปลือกหุ้มเมล็ดของลำไยมีปริมาณแทนนินสูง[7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "การปลูกลำไย" (PDF).
  2. "ความรู้เรื่องลำไย-สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ".
  3. เศรษฐมันต์ กาญจนกุล. ลำไยเครือ ใน ผลไม้ในเมืองไทย. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555 หน้า 94-95
  4. เศรษฐมันต์ กาญจนกุล. ลำไยขาว ใน ผลไม้ในเมืองไทย. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555 หน้า 104 - 105
  5. นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 203 - 205
  6. ภาสกิจ วัณณาวิบูล. รู้เลือกรู้ใช้ 100 ยาจีน. กทม. ทองเกษม. 2555
  7. บัวเรียม มณีวรรณ์*ทองเลียน บัวจูม เผ่าพงษ์ ปูระณะพงษ์ และ โยธิน นันตา.การศึกษาองค์ประกอบทางเคมี การย่อยได้ของโภชนะ และพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้ของเมล็ดลำไยและเนื้อในเมล็ดลำไยในไก่พื้นเมือง[ลิงก์เสีย]. การประชุมวิชาการนเรศวรวิจัยครั้งที่ 7 29 – 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2554