ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำดวน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
Paul 012 (คุย | ส่วนร่วม)
ชื่อวิทยาศาสตร์
 
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 6 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{speciesbox
{{Taxobox
| image = ลำดวน .jpg
| image = Melodorum_fruticosum.jpg
| image_caption = ลำดวนที่[[สวนนงนุช]] ประเทศไทย
| image_width = 250px
| genus = Sphaerocoryne
| image_caption =
| regnum = [[Plant]]ae
| species = lefevrei
| authority = (Baill.) D.M.Johnson & N.A.Murray
| divisio = [[Flowering plant|Magnoliophyta]]
| classis = [[Magnoliopsida]]
| ordo = [[Magnoliales]]
| familia = [[Annonaceae]]
| genus = ''[[Melodorum]]''
| species = '''''M. fruticosum'''''
| binomial = ''Melodorum fruticosum''
| binomial_authority = [[Lour.]]
| synonyms =
| synonyms =
}}
}}
'''ลำดวน''' ([[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''Sphaerocoryne lefevrei'') มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมนวล (ภาคเหนือ) ลำดวน (ภาคอีสาน) เป็นไม้ดอกชนิดหนึ่งมีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็น[[รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด|พันธุ์ไม้มงคลพระราชทาน]]ประจำ[[จังหวัดศรีสะเกษ]] นอกจากนี้ ดอกหอมนวลยังเป็นดอกไม้ประจำ[[มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]]<ref>{{Cite web |url=http://www.thaigoodview.com/node/51455 |title=ประวัติของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง |access-date=2011-08-11 |archive-date=2012-05-14 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120514152803/http://thaigoodview.com/node/51455 |url-status=dead }}</ref> และ[[มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ]]ด้วย<ref>[http://www.sskru.ac.th/2010/history/Symbol.php ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>

'''ลำดวน''' ([[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''Melodorum fruticosum'' Lour.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมนวล (ภาคเหนือ) ลำดวน (ภาคอีสาน) เป็นไม้ดอกชนิดหนึ่งมีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็น[[รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด|พันธุ์ไม้มงคลพระราชทาน]]ประจำ[[จังหวัดศรีสะเกษ]] นอกจากนี้ ดอกหอมนวลยังเป็นดอกไม้ประจำ[[มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]]<ref> [http://www.thaigoodview.com/node/51455 ประวัติของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง] </ref> และ[[มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ]]ด้วย<ref>[http://www.sskru.ac.th/2010/history/Symbol.php ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ]</ref>


== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
ลำดวนเป็นไม้ต้นขนาดกลาง สูง 5 - 20 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดรูปกรวย หนาทึบ ลำต้นเปลาตรง มีเปลือกสีน้ำตาล แตกขรุขระเป็นสะเก็ด ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 5-11.5 เซนติเมตร ปลายใบแหลมโคนใบสอบหรือมน ดอกมีสีนวลกลิ่นหอม ออกเดี่ยวตามซอกใบที่ปลายกิ่ง กลีบดอกหนาและแข็ง กลีบดอก ชั้นนอก 3 กลีบแผ่ออก ชั้นใน 3 กลีบ หุบเข้าหากัน เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ลักษณะผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.6 เซนติเมตร สีเขียว เมื่อสุกสีดำ รสหวานอมเปรี้ยว
ลำดวนเป็นไม้ต้นขนาดกลาง สูง 5 - 20 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดรูปกรวย หนาทึบ ลำต้นเปลาตรง มีเปลือกสีน้ำตาล แตกขรุขระเป็นสะเก็ด ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 5-11.5 เซนติเมตร ปลายใบแหลมโคนใบสอบหรือมน ดอกมีสีนวลกลิ่นหอม ออกเดี่ยวตามซอกใบที่ปลายกิ่ง กลีบดอกหนาและแข็ง กลีบดอก ชั้นนอก 3 กลีบแผ่ออก ชั้นใน 3 กลีบ หุบเข้าหากัน เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ลักษณะผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.6 เซนติเมตร สีเขียว เมื่อสุกสีดำ รสหวานอมเปรี้ยว

ออกดอกเดือน ธันวาคม - กุมภาพันธ์ <ref>{{cite web |url=https://www.royalparkrajapruek.org/Plants/view?id=982|title=''อุทยานหลวงราชพฤกษ์'' ลำดวน|accessdate=2024-04-13}}</ref>

== อนุกรมวิธาน ==
ลำดวนเคยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Melodorum fruticosum'' Lour. มาเป็นเวลานาน แต่ต่อมาพบว่าแท้จริงแล้ว ''M. fruticosum'' เป็นชื่อพ้องของ ''Uvaria siamensis'' หรือ[[นมแมว]] ซึ่งเป็นพืชต่างชนิดกัน ชื่อพฤกษศาสตร์ที่ถูกต้องของลำดวนในปัจจุบันใช้ว่า ''Sphaerocoryne lefevrei'' (Baill.) D. M. Johnson & N. A. Murray<ref>{{cite web |title=#เรื่องเล่าว่าด้วยชื่อพฤกษศาสตร์ "ลำดวน" Sphaerocoryne lefevrei (Baill.) D. M. Johnson & N. A. Murray |url=https://www.facebook.com/DNP1362/photos/a.1608134926168076/2981058532209035/?type=3 |website=เพจเฟซบุ๊ก กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช |accessdate=11 June 2024 |language=th}}</ref>


== สัญลักษณ์ประจำจังหวัด ==
== สัญลักษณ์ประจำจังหวัด ==
บรรทัด 27: บรรทัด 24:
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]]
* [[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒]] [[กรุงเทพมหานคร]]
* [[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒]] [[กรุงเทพมหานคร]]

== ดูเพิ่ม ==

* [[รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 33: บรรทัด 34:
*สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย ISBN 974-277-385-8 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540
*สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย ISBN 974-277-385-8 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}

==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{Cite web|url=https://guru.sanook.com/search/%E0%B8%A5%E0%B8%B3%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%99_%26%2340%3BMelodorum_fruticosum_Lour.%26%2341%3B/|title=ลำดวน_(Melodorum_fruticosum_Lour.) (คืออะไร หมายถึง ความหมาย) - Sanook! กูรู|first=Sanook Online Ltd|last=Thailand|website=guru.sanook.com |lang=th}} {{in lang|th}}
*{{Cite web|url=http://thaiherb.most.go.th/plantdetail.php?id=46|title=ThaiHerb : Add-Edit|date=February 7, 2008| archive-url=https://web.archive.org/web/20080207171745/http://thaiherb.most.go.th/plantdetail.php?id=46 | archive-date=2008-02-07 |lang=th}} {{in lang|th}}


{{ต้นไม้พระราชทาน}}
{{ต้นไม้พระราชทาน}}
{{ดอกไม้ประจำจังหวัด}}
{{ดอกไม้ประจำจังหวัด}}
{{อุทยานดอกไม้}}
{{อุทยานดอกไม้}}

{{Taxonbar|from=Q6577913}}

[[หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ]]
[[หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ]]
[[หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำจังหวัดของไทย]]
[[หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำจังหวัดของไทย]]
[[หมวดหมู่:ดอกไม้ประจำจังหวัด]]
[[หมวดหมู่:ดอกไม้ประจำจังหวัดของไทย]]
[[หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:วงศ์กระดังงา]]
[[หมวดหมู่:วงศ์กระดังงา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:46, 11 มิถุนายน 2567

ลำดวน
ลำดวนที่สวนนงนุช ประเทศไทย
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
อาณาจักร: พืช
Plantae
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
Tracheophytes
เคลด: พืชดอก
Angiosperms
เคลด: แมกโนลิด
Magnoliids
อันดับ: อันดับจำปา
Magnoliales
วงศ์: วงศ์กระดังงา
Annonaceae
สกุล: Sphaerocoryne
Sphaerocoryne
(Baill.) D.M.Johnson & N.A.Murray
สปีชีส์: Sphaerocoryne lefevrei
ชื่อทวินาม
Sphaerocoryne lefevrei
(Baill.) D.M.Johnson & N.A.Murray

ลำดวน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Sphaerocoryne lefevrei) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมนวล (ภาคเหนือ) ลำดวน (ภาคอีสาน) เป็นไม้ดอกชนิดหนึ่งมีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดศรีสะเกษ นอกจากนี้ ดอกหอมนวลยังเป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง[1] และมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษด้วย[2]

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

[แก้]

ลำดวนเป็นไม้ต้นขนาดกลาง สูง 5 - 20 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดรูปกรวย หนาทึบ ลำต้นเปลาตรง มีเปลือกสีน้ำตาล แตกขรุขระเป็นสะเก็ด ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 5-11.5 เซนติเมตร ปลายใบแหลมโคนใบสอบหรือมน ดอกมีสีนวลกลิ่นหอม ออกเดี่ยวตามซอกใบที่ปลายกิ่ง กลีบดอกหนาและแข็ง กลีบดอก ชั้นนอก 3 กลีบแผ่ออก ชั้นใน 3 กลีบ หุบเข้าหากัน เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ลักษณะผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.6 เซนติเมตร สีเขียว เมื่อสุกสีดำ รสหวานอมเปรี้ยว

ออกดอกเดือน ธันวาคม - กุมภาพันธ์ [3]

อนุกรมวิธาน

[แก้]

ลำดวนเคยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Melodorum fruticosum Lour. มาเป็นเวลานาน แต่ต่อมาพบว่าแท้จริงแล้ว M. fruticosum เป็นชื่อพ้องของ Uvaria siamensis หรือนมแมว ซึ่งเป็นพืชต่างชนิดกัน ชื่อพฤกษศาสตร์ที่ถูกต้องของลำดวนในปัจจุบันใช้ว่า Sphaerocoryne lefevrei (Baill.) D. M. Johnson & N. A. Murray[4]

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

[แก้]

สัญลักษณ์ประจำสถานศึกษา

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประวัติของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-14. สืบค้นเมื่อ 2011-08-11.
  2. ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ[ลิงก์เสีย]
  3. "อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ลำดวน". สืบค้นเมื่อ 2024-04-13.
  4. "#เรื่องเล่าว่าด้วยชื่อพฤกษศาสตร์ "ลำดวน" Sphaerocoryne lefevrei (Baill.) D. M. Johnson & N. A. Murray". เพจเฟซบุ๊ก กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. สืบค้นเมื่อ 11 June 2024.
  • สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย ISBN 974-277-385-8 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]