ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบสองสภา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PixelBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต เพิ่ม: kk:Екі палаталы жүйе
ย้อนการก่อกวน 2 ครั้งของ นิรันดร์ ใจพุทธ (พูดคุย) ไปยังรุ่นโดย Jeabbabe ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
 
(ไม่แสดง 14 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 9 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:

{{รอการตรวจสอบ}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''ระบบสองสภา''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: ''bicameralism'' -bi + Latin ''camera'' หรือ chamber) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติสององค์หรือมี[[รัฐสภา]]สองสภา ดังนั้น ระบบสองสภา หรือ สององค์นิติบัญญัติจึงประกอบด้วย 2 องค์ประชุมคือ[[สภาสูง]]และ[[สภาล่าง]] ระบบสองสภานับเป็นหัวใจสำคัญของรูปแบบคลาสสิกของ[[รัฐบาลผสม]] องค์นิติบัญญัติแบบสองสภาจึงจำเป็นต้องมีเสียงข้างมากในการผ่านกฎหมาย
'''ระบบสองสภา''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: ''bicameralism'' -bi + Latin ''camera'' หรือ chamber) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติสององค์ หรือมี[[รัฐสภา]]สองสภา ดังนั้น ระบบสองสภา หรือ สององค์นิติบัญญัติจึงประกอบด้วย 2 องค์ประชุม คือ [[สภาสูง]] และ[[สภาล่าง]] ระบบสองสภานับเป็นหัวใจสำคัญของรูปแบบคลาสสิกของรัฐบาลผสม องค์นิติบัญญัติแบบสองสภาจึงจำเป็นต้องมีเสียงข้างมากในการผ่านกฎหมาย


== ทฤษฎีของระบบสองสภา ==
== ทฤษฎีของระบบสองสภา ==
[[ไฟล์:Capitol Building Full View.jpg|thumb|280px|right|ระบบสองสภานิติบัญญัติของสหรัฐฯ ทั้งอยู่ในอาคารแคปิตอล ([[:en:United States Capitol|capitol building]] ซึ่งมีสองปีก ปีกด้านเหนือคือวุฒิสภาสหรัฐฯ (:en:[[United States Senate|Senate]] ส่วนปีกด้านใต้คือสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ ([[:en:United States House of Representatives|House of Representatives]]]]
[[ไฟล์:Capitol Building Full View.jpg|thumb|280px|right|ระบบสองสภานิติบัญญัติของสหรัฐฯ อยู่ในตึกรัฐสภาทั้งคู่ โดยมีสองปีก ปีกด้านเหนือคือวุฒิสภา ส่วนปีกด้านใต้คือสภาผู้แทนราษฎร]]
ถึงแม้ว่าแนวคิดพื้นฐานของระบบสองสภาสามารถสืบย้อนไปได้ถึงทฤษฎีที่มีมาตั้งแต่สมัยซูเมอร์โบราณ และต่อมาถึงกรีกโบราณ อินเดียโบราณและโรม แต่สถาบันที่เป็นรูปเป็นร่างของระบบสองสภาปรากฏเห็นได้ชัดเจนในยุโรปยุคกลางซึ่งได้โยงให้เห็นความสัมพันธ์ที่ที่มีองค์อาณาจักรแตกต่างกัน เช่น สภาหนึ่งเป็นผู้แทนของอภิชนาธิปไตย (aristocracy) และอีกสภาหนึ่งเป็นผู้แทนสามัญชน
ถึงแม้ว่าแนวคิดพื้นฐานของระบบสองสภาสามารถสืบย้อนไปได้ถึงทฤษฎีที่มีมาตั้งแต่สมัยซูเมอร์โบราณ และต่อมาถึงกรีกโบราณ อินเดียโบราณและโรม แต่สถาบันที่เป็นรูปเป็นร่างของระบบสองสภาปรากฏเห็นได้ชัดเจนในยุโรปยุคกลางซึ่งได้โยงให้เห็นความสัมพันธ์ที่ที่มีองค์อาณาจักรแตกต่างกัน เช่น สภาหนึ่งเป็นผู้แทนของอภิชนาธิปไตย (aristocracy) และอีกสภาหนึ่งเป็นผู้แทนสามัญชน


บรรทัด 23: บรรทัด 23:
=== การปฏิรูปการเมืองอาหรับ ===
=== การปฏิรูปการเมืองอาหรับ ===


== ตัวอย่างองค์นิติบัญญัติของประเทศต่างๆ ==
== ตัวอย่าง ==
[[ไฟล์:Unibicameral Map.svg|600px|center]]
[[ไฟล์:Unibicameral_Map.png|300px|thumb|{{legend|#38b4d8|ประเทศที่ใช้ระบบสภาคู่}}{{legend|#f09c30|ประเทศที่ใช้ระบบสภาเดี่ยว}}{{legend|#a0989f|ประเทศที่ไม่มีรัฐสภา}}]]







{{legend|#38b4d8|ประเทศที่มีสภานิติบัญญัติระบบสองสภา}}
{{legend|#b0e947|ประเทศที่มีสภานิติบัญญัติระบบสภาเดี่ยว และมีคณะที่ปรึกษาด้วย}}
{{legend|#f09c30|ประเทศที่มีสภานิติบัญญัติระบบสภาเดี่ยว}}
{{legend|#303030|ประเทศที่ไม่มีสภานิติบัญญัติ}}
{{legend|#a0989f|ไม่มีข้อมูล}}


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 42: บรรทัด 42:
[[หมวดหมู่:สภานิติบัญญัติ]]
[[หมวดหมู่:สภานิติบัญญัติ]]
{{โครงการเมือง}}
{{โครงการเมือง}}

[[ar:برلمان من مجلسين]]
[[ca:Bicameralitat]]
[[cs:Bikameralismus]]
[[da:Tokammersystem]]
[[de:Zweikammersystem]]
[[en:Bicameralism]]
[[eo:Duĉambra parlamento]]
[[es:Bicameralidad]]
[[eu:Ganbera-bitasun]]
[[fi:Kaksikamarijärjestelmä]]
[[fr:Bicamérisme]]
[[gl:Bicameralismo]]
[[id:Sistem dua kamar]]
[[it:Bicameralismo]]
[[ja:両院制]]
[[kk:Екі палаталы жүйе]]
[[ko:양원제]]
[[lb:Zweekummersystem]]
[[mk:Дводомен парламент]]
[[ms:Dwidewan]]
[[nl:Tweekamerstelsel]]
[[nn:Tokammersystem]]
[[no:Tokammersystem]]
[[pl:Bikameralizm]]
[[pt:Bicameralismo]]
[[ro:Bicameralism]]
[[ru:Двухпалатный парламент]]
[[simple:Bicameral]]
[[sv:Tvåkammarsystem]]
[[ta:ஈரவை]]
[[tr:Çift meclislilik]]
[[uk:Двопалатний парламент]]
[[zh:兩院制]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 19:57, 25 กรกฎาคม 2566

ระบบสองสภา (อังกฤษ: bicameralism -bi + Latin camera หรือ chamber) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติสององค์ หรือมีรัฐสภาสองสภา ดังนั้น ระบบสองสภา หรือ สององค์นิติบัญญัติจึงประกอบด้วย 2 องค์ประชุม คือ สภาสูง และสภาล่าง ระบบสองสภานับเป็นหัวใจสำคัญของรูปแบบคลาสสิกของรัฐบาลผสม องค์นิติบัญญัติแบบสองสภาจึงจำเป็นต้องมีเสียงข้างมากในการผ่านกฎหมาย

ทฤษฎีของระบบสองสภา[แก้]

ระบบสองสภานิติบัญญัติของสหรัฐฯ อยู่ในตึกรัฐสภาทั้งคู่ โดยมีสองปีก ปีกด้านเหนือคือวุฒิสภา ส่วนปีกด้านใต้คือสภาผู้แทนราษฎร

ถึงแม้ว่าแนวคิดพื้นฐานของระบบสองสภาสามารถสืบย้อนไปได้ถึงทฤษฎีที่มีมาตั้งแต่สมัยซูเมอร์โบราณ และต่อมาถึงกรีกโบราณ อินเดียโบราณและโรม แต่สถาบันที่เป็นรูปเป็นร่างของระบบสองสภาปรากฏเห็นได้ชัดเจนในยุโรปยุคกลางซึ่งได้โยงให้เห็นความสัมพันธ์ที่ที่มีองค์อาณาจักรแตกต่างกัน เช่น สภาหนึ่งเป็นผู้แทนของอภิชนาธิปไตย (aristocracy) และอีกสภาหนึ่งเป็นผู้แทนสามัญชน

ประเภทของระบบสองสภา[แก้]

ระบอบสหพันธรัฐ[แก้]

สหพันธรัฐ (อังกฤษ: Federation) คือการรวมกันของรัฐมากกว่า 2 รัฐขึ้นไป มีรัฐบาล 2 ระดับ คือรัฐบาลของแต่ละรัฐ เรียกว่า รัฐบาลท้องถิ่น และรัฐบาลกลาง คือ รัฐบาลที่รัฐตกลงมอบอำนาจไปส่วนหนึ่งตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ

รูปแบบของรัฐบาลหรือโครงสร้างรัฐธรรมนูญของสหพันธรัฐนั้นมีรากฐานมาจากแนวคิดระบอบสหพันธรัฐ (Federalism) ซึ่งจัดว่าเป็นแนวคิดต่างขั้วโดยสิ้นเชิงกับอีกระบอบหนึ่ง คือการปกครองแบบรัฐเดียว

สหพันธรัฐนั้นอาจประกอบไปด้วยประชาชนที่มีหลากหลายเชื้อชาติ หรืออาจมีพื้นที่ขนาดใหญ่ (แปดในสิบของประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลก ล้วนเป็นสาธารณรัฐ) แต่องค์ประกอบเหล่านั้นไม่ใช่ส่วนสำคัญ อย่างไรก็ดี ส่วนใหญ่แล้ว สหพันธรัฐนั้นเกิดขึ้นจากข้อตกลงระหว่างรัฐอธิปไตยที่มีมาก่อนแล้ว องค์กรระหว่างประเทศสำหรับกลุ่มประเทศสหพันธรัฐคือ องค์ประชุมกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ (Forum of Federations) ถูกจัดตั้งขึ้นและมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงออตตาวา รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ซึ่งมีจุดประสงค์ในการแบ่งปันแนวคิดและแนวปฏิบัติในการจัดการระบบรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 9 ประเทศ

ระบอบอภิชนาธิปไตย[แก้]

อภิชนาธิปไตย มาจากศัพท์ภาษากรีกโบราณว่า aristocracy ซึ่งหมายถึง รัฐบาลที่ "ปกครองโดยคนที่ดีที่สุด" คำจำกัดความนี้เป็นคำจำกัดความอันดับแรกในพจนานุกรมส่วนมาก ศัพท์ว่า aristocracy มาจากคำสองคำ ได้แก่ "aristos" หมายถึง "ดีที่สุด" และ "kratein" หมายถึง "การปกครอง" อภิชนาธิปไตยมักจะมีลักษณะใกล้เคียงเศรษฐยาธิปไตย หรือคือการปกครองโดยคนส่วนน้อยที่มีฐานะสูงกว่าคนทั่วไป ถือเป็นกลุ่มขุนนาง ผู้ดี กลุ่มเศรษฐี เป็นต้น ตัวอย่างของการปกครองเช่นนี้คือ ยุคโชกุนของญี่ปุ่น

ระบอบเอกรัฐ[แก้]

ระบอบต่ำกว่ารัฐ (Subnational entities)[แก้]

การปฏิรูปการเมืองอาหรับ[แก้]

ตัวอย่าง[แก้]

  ประเทศที่มีสภานิติบัญญัติระบบสองสภา
  ประเทศที่มีสภานิติบัญญัติระบบสภาเดี่ยว และมีคณะที่ปรึกษาด้วย
  ประเทศที่มีสภานิติบัญญัติระบบสภาเดี่ยว
  ประเทศที่ไม่มีสภานิติบัญญัติ
  ไม่มีข้อมูล

ดูเพิ่ม[แก้]