ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตาบอดสี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.5
 
(ไม่แสดง 16 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 10 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox disease
{{Infobox disease
| Name = ตาบอดสี
| Name = ตาบอดสี
| Image = US Flag color blind.png
| Image = Colour perception in different types of colour blindness.svg
| Caption = ภาพประกอบแสดงการมองเห็นปกติกับตาบอดสีประเภทต่าง ๆ เมื่อ ค.ศ. 1895
| Caption = ภาพแสดงการมองเห็นปกติกับตาบอดสีประเภทต่าง ๆ
| DiseasesDB = 2999
| DiseasesDB = 2999
| ICD10 = {{ICD10|H|53|5|h|53}}
| ICD10 = {{ICD10|H|53|5|h|53}}
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
| MeshID = D003117
| MeshID = D003117
}}
}}
'''ตาบอดสี''' ({{lang-en|color blindness}}) หรือ '''การพร่องการเห็นสี''' ({{lang-en|color vision deficiency}}) เป็นภาวะที่ความสามารถในการมองเห็นสีลดลงหรือการเห็นสีที่แตกต่างไปจากปกติ ภาวะนี้อาจทำให้[[ความสามารถของบุคคล|ความสามารถ]]บางอย่างลดลง เช่น การเลือกผลไม้ที่แก่หรือสุก การเลือกเสื้อผ้า และการอ่านสัญญาณไฟจราจร นอกจากนี้ ตาบอดสีอาจทำให้กิจกรรมทางการศึกษาบางอย่างยากขึ้น เช่น การเรียน[[ศิลปะ]] อย่างไรก็ตาม ปัญหาโดยทั่วไปบางอย่างมักเป็นเพียงเรื่องเล็กน้อยที่คนตาบอดสีส่วนใหญ่สามารถปรับตัวเข้ากับภาวะนี้ได้ ส่วนใหญ่จะแยกระหว่างสีเขียวและสีแดงไม่ได้
'''ตาบอดสี''' ({{lang-en|Color blindness}}) เป็น[[โรค]]ชนิดหนึ่งของ[[ดวงตา]]เมื่อเป็นแล้วจะส่งผลให้การแปรภาพของสีต่าง ๆ ที่มองเห็นผิดเพี้ยนไป จากผู้อื่นที่เป็นตาปกติ ภาวะตาบอดสีนั้น เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและในสังคมมากพอสมควร


==สาเหตุ==
==สาเหตุ==
บรรทัด 26: บรรทัด 26:


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
* [http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/12/digitallearning/html/colorblindness.html โรคตาบอดสี]
* [http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/12/digitallearning/html/colorblindness.html โรคตาบอดสี] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120823033646/http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/12/digitallearning/html/colorblindness.html |date=2012-08-23 }}
* [http://www.healthkonthai.com/%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B5/ ตาบอดสี]
* [http://www.healthkonthai.com/%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B5/ ตาบอดสี]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}
*[http://www.apcd.or.th/ สมาคมเพื่อผู้พร่องการเห็นสี (ตาบอดสี)] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20220302045251/http://www.apcd.or.th/ |date=2022-03-02 }}
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:การมองเห็น]]
[[หมวดหมู่:การมองเห็น]]
[[หมวดหมู่:โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา]]
[[หมวดหมู่:โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา]]
[[หมวดหมู่:ภาวะเสียการระลึกรู้]]
[[หมวดหมู่:รงคศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:10, 20 มิถุนายน 2566

ตาบอดสี
ภาพแสดงการมองเห็นปกติกับตาบอดสีประเภทต่าง ๆ
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10H53.5
ICD-9368.5
DiseasesDB2999
MedlinePlus001002
MeSHD003117

ตาบอดสี (อังกฤษ: color blindness) หรือ การพร่องการเห็นสี (อังกฤษ: color vision deficiency) เป็นภาวะที่ความสามารถในการมองเห็นสีลดลงหรือการเห็นสีที่แตกต่างไปจากปกติ ภาวะนี้อาจทำให้ความสามารถบางอย่างลดลง เช่น การเลือกผลไม้ที่แก่หรือสุก การเลือกเสื้อผ้า และการอ่านสัญญาณไฟจราจร นอกจากนี้ ตาบอดสีอาจทำให้กิจกรรมทางการศึกษาบางอย่างยากขึ้น เช่น การเรียนศิลปะ อย่างไรก็ตาม ปัญหาโดยทั่วไปบางอย่างมักเป็นเพียงเรื่องเล็กน้อยที่คนตาบอดสีส่วนใหญ่สามารถปรับตัวเข้ากับภาวะนี้ได้ ส่วนใหญ่จะแยกระหว่างสีเขียวและสีแดงไม่ได้

สาเหตุ

[แก้]

โดยทั่วไปมนุษย์จะมีเซลล์รับแสงอยู่ด้วยกัน 2 กลุ่ม กลุ่มแรกทำหน้าที่รับรู้ถึงความมืด หรือ สว่าง ไม่สามารถแยกแยะสีสันได้ แต่จะมีความไวในการกระตุ้นแม้ในที่ที่มีแสงเพียงเล็กน้อย เช่น เวลากลางคืน ส่วนเซลล์กลุ่มที่สองจะทำหน้าที่บอกสีต่าง ๆ ที่เรามองเห็น โดยจะแยกได้อีกเป็น 3 ชนิด ตามระดับคลื่นแสง หรือสี ที่กระตุ้น ได้แก่ เซลล์รับแสงสีแดง เซลล์รับแสงสีน้ำเงิน และเซลส์รับแสงสีเขียวสำหรับการรับแสงสีอื่น โดยให้สมองเราแปลภาพออกมาเป็นสีต่าง ๆ

โรคตาบอดสี เกิดขึ้นจากเซลล์ประสาทชนิดหนึ่ง ในม่านตาที่มีการตอบสนองความไวต่อสีต่าง ๆ ทำงานผิดปกติ จนเกิดเป็นความบกพร่องหรือความพิการ ส่งผลให้ดวงตาไม่สามารถที่จะมองเห็นสีบางสีได้ แต่ทั้งนี้ ตาบอดสีไม่ได้มีเพียงแต่ข้อเสียเท่านั้น แต่ผู้ที่ตาบอดสีจะมีความสามารถในการแยกสีเฉดเดียวกันที่มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยได้ดีกว่าคนปกติ ตัวอย่างเช่น คนตาบอดสีเขียวจะแยกสีที่คล้ายกัน เช่น เขียวอ่อน เขียวอมเหลือง ได้ละเอียด และในประเทศอิสราเอลมีการรับ คนที่ตาบอดสีเข้าประจำในกองทัพบก เพราะคนเหล่านี้จะมองเห็นรถถังที่ทาสี พรางตัวอยู่ในภูมิประเทศ ได้ดีกว่าคนที่มีดวงตาเป็นปกติ

อาการ

[แก้]

อาการที่แสดงถึงความผิดปกตินั้นมักเกิดขึ้นจากจอประสาทตาเส้นประสาทตา หรือส่วนรับรู้ในสมองถูกทำลาย สาเหตุต่าง ๆ เช่น การอักเสบ ภาวะขาดเลือด อุบัติเหตุเนื้อ งอก การเสื่อมลงของจอประสาทตา และผลข้างเคียงจากใช้ยาหรือสารเคมีอื่น ๆ โดยผู้ป่วยจะมีอาการเรียกชื่อสีหรือเห็นสีผิดไปจากเดิม เช่น ความผิดปกติของตาทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน อาจเป็นตาเดียวหรือทั้ง 2 ตา มีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นหรือลดลงได้ ขึ้นอยู่กับสาเหตุและความรุนแรงของโรคที่เป็นอยู่นั้น

การรักษาและการป้องกัน

[แก้]

ผู้ที่เป็นโรคนี้มาตั้งแต่กำเนิด ยังไม่พบวิธีรักษาที่ได้ผล ทั้งนี้ ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับคำแนะนำถึงโอกาสการถ่ายทอดทางพันธุกรรมและโอกาสหลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้เกิดภาวะตาบอดสีในหมู่ญาติ ส่วนผู้ที่มีภาวะตาบอดสีภายหลัง ควรรับการตรวจวินิจฉัยถึงสาเหตุ เพื่อการวางแผนรักษาที่เหมาะสมต่อไป ส่วนประเภทที่เกิดจากโรคต่าง ๆ ที่มีผลต่อจอประสาทและเส้นประสาทตา อาจป้องกันไม่ให้เกิดความผิดปกติแบบถาวร ควรได้รับคำแนะนำจากแพทย์ที่ถูกต้อง

อ้างอิง

[แก้]