อ่อน
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʔɔːnᴮ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *ʔwuːnᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ອ່ອນ (อ่อน), ภาษาไทลื้อ ᦀᦸᧃᧈ (อ่อ̂น), ภาษาไทใหญ่ ဢွၼ်ႇ (อ่อ̂น) หรือ ဢူၼ်ႈ (อู้น), ภาษาอาหม 𑜒𑜨𑜃𑜫 (ออ̂น์) หรือ 𑜒𑜤𑜃𑜫 (อุน์), ภาษาจ้วง unq หรือ onq, ภาษาจ้วงแบบหนง oanq, ภาษาแสก อูน
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | อ่อน | อ็่อน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ɔ̀ɔn | ɔ̀n |
ราชบัณฑิตยสภา | on | on | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔɔːn˨˩/(สัมผัส) | /ʔɔn˨˩/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
แก้ไขอ่อน (คำอาการนาม ความอ่อน)
- ไม่กระด้าง
- ลิ้นอ่อน
- นิ่ม
- เนื้ออ่อน
- ไม่จัด
- แดดอ่อน
- ไม่แข็ง, ยอมง่าย ๆ, รู้สึกสงสาร
- ใจอ่อน
- ไม่แก่
- มะพร้าวอ่อน
- หย่อน
- อ่อนเค็ม
- น้อย
- เหลืองอ่อน
- ไม่แรง
- ไฟอ่อน
- อายุยังน้อย
- ไก่อ่อน
- ยังเล็กอยู่
- เด็กอ่อน
- ละมุนละม่อม
- ดัดง่าย, เปลี่ยนแปลงง่าย
คำกริยา
แก้ไขอ่อน (คำอาการนาม การอ่อน)