เรอัลเบติส
เรอัลเบติสบาลอมปิเอ (สเปน: Real Betis Balompié) เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศสเปน ตั้งอยู่ในเมืองเซบิยา แคว้นอันดาลูซิอา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1907 ปัจจุบันเล่นอยู่ในลาลิกา หลังชนะเลิศเซกุนดาดิบิซิออน ในฤดูกาล 2014–15 ปัจจุบันสโมสรใช้สนามกีฬาเบนีโต บียามาริน เป็นสนามเหย้า ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเมือง มีความจุ 60,720 ที่นั่ง[3]
ชื่อเต็ม | บริษัท เรอัลเบติสบาลอมปิเอ จำกัด (มหาชน) | |||
---|---|---|---|---|
ฉายา | โลสเบร์ดิบลังโกส (เขียวและขาว) เบร์เดส (เขียว) เบติโกส เอลิโอโปลิตาโนส (ชาวฮีลีโอโพลิทัน) เอลโกลริโอโซ (ผู้รุ่งโรจน์)[1] | |||
ชื่อย่อ | เบติส | |||
ก่อตั้ง | 12 กันยายน ค.ศ. 1907 ในนาม เซบิยาบาลอมปิเอ | |||
สนาม | สนามกีฬาเบนิโต บิยามาริน | |||
ความจุ | 60,720[2] | |||
ประธาน | อังเฆล ฮาโน | |||
ผู้จัดการทีม | มานูเอล เปเลกรินิ | |||
ลีก | ลาลิกา | |||
2022–23 | ลาลิกา อันดับที่ 6 จาก 20 | |||
เว็บไซต์ | เว็บไซต์สโมสร | |||
| ||||
เรอัลเบติสชนะเลิศลีกสูงสุดเพียงครั้งเดียวในปี 1935 และชนะเลิศ โกปาเดลเรย์ สองครั้งในปี 1977 และ 2005 จากประวัติศาสตร์อันวุ่นวายของสโมสรและการตกชั้นหลายครั้ง คำขวัญของสโมสรคือ บิบาเอลเบติสมังเก [เอาง์เก] ปิเอร์ดา! หรือแปลว่า "เบติสจงเจริญแม้จะแพ้ก็ตาม"
รายชื่อผู้เล่น
แก้- ณ วันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 2022[4]
หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
|
|
ทีมสำรอง
แก้หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
|
|
ถูกยืมตัว
แก้หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
|
|
การปลดหมายเลขเสื้อ
แก้26 มิกิ โรเก (เสียชีวิต) (2009–12)
เกียรติประวัติ
แก้ระดับประเทศ
แก้- ลาลิกา
- ชนะเลิศ (1): 1934–35
- โกปาเดลเรย์
- ชนะเลิศ (3): 1976–77, 2004–05, 2021–22
- รองชนะเลิศ (2): 1931, 1996–97
- ซูเปร์โกปาเดเอสปัญญา
- รองชนะเลิศ (1): 2005
- เซกุนดาดิบิซิออน
- ชนะเลิศ (7): 1931–32, 1941–42, 1957–58, 1970–71, 1973–74, 2010–11, 2014–15
- รองชนะเลิศ (5): 1955–56]], 1966–67 , 1989–90, 1993–94, 2000–01
- เตร์เซราดิบิซิออน
- ชนะเลิศ (1): 1953–54
- โกปาเดอันดาลูซิอา (ปัจจุบันยกเลิกแล้ว)
- ชนะเลิศ (1): 1927–28
- รองชนะเลิศ (13): 1919–20, 1920–21, 1922–23, 1923–24, 1924–25, 1925–26, 1926–27, 1928–29, 1929–30, 1930–31, 1931–32, 1938–39, 1939–40
กระชับมิตร
แก้- ไอบีเรียนซูเปอร์คัพ: 1935, 2005
- ถ้วยรางวัลรามอน เด การ์รันซา: 1964, 1999, 2000, 2001, 2007
- โตรเฟโอโกลอมบิโน: 1968, 1983, 1995, 2009
- ถ้วยรางวัลกัวเดียนา: 2004
ส่วนบุคคล
แก้รางวัลปิชิชิ
แก้รางวัลซาโมรา
แก้- โฆอากิน อูร์เกียกา (1934–35)
- เปโดร ฆาโร (1994–95)
สถิติ
แก้สถิติสโมสร
แก้- อันดับที่ดีที่สุดในลาลิกา: อันดับที่ 1 (1934–35)
- อันดับที่แย่ที่สุดในลาลิกา: อันดับที่ 20 (1990–91, 2013–14)
- ชนะในนัดเหย้าสูงสุด: เบติส 7–0 เรอัลซาราโกซา (1958–59)
- ชนะในนัดเยือนสูงสุด: กาดิซ 0–5 เบติส (1977–78)
- แพ้ในนัดเหย้าสูงสุด: เบติส 0–5 เรอัลมาดริด (1960–61, 2013–14), เบติส 0–5 โอซาซูนา (2006–07), เบติส 0–5 บาร์เซโลนา (2017–18)
- แพ้ในนัดเยือนสูงสุด: อัตเลติกเดบิลบาโอ 9–1 เบติส (1932–33)
- การกลับมาชนะสูงสุดหลังจากขึ้นนำก่อน: เบติส – บาร์เซโลนา: 0–2 กลับมาชนะ 3–2 (2007–08),[5] เบติส – เดปอร์ติโบอาลาเบส: 0–2 กลับมาชนะ 3–2 (2020–21), เซลตา – เบติส: 2–0 กลับมาชนะ 2–3 (2020–21)
- การกลับมาแพ้สูงสุดหลังจากขึ้นนำก่อน: เบติส – อัสปัญญ็อล: 2–0 กลับมาแพ้ 2–5 (1999–2000)
สถิติผู้เล่น
แก้- ลงเล่นสูงสุด: โฆเซ รามอน เอสนาโอลา – 574[6]
- ลงเล่นในนัดอย่างเป็นทางการสูงสุด: โฆเซ รามอน เอสนาโอลา – 460[6]
- ลงเล่นสูงสุดในลาลิกา: โฆเซ รามอน เอสนาโอลา – 378[6]
- ลงเล่นสูงสุดในโกปาเดลเรย์: โฆเซ รามอน เอสนาโอลา – 64[6]
- ลงเล่นสูงสุดในการแข่งขันระดับทวีปยุโรป: ฆัวกิน – 23
- ผู้ทำประตูสูงสุดในลาลิกา: อิโปลิโต รินกอน – 78
- ผู้ทำประตูสูงสุดรวมทั้งหมด: รูเบน กัสโตร – 148
- ผู้ทำประตูสูงสุดในการแข่งขันระดับทวีปยุโรป: อังฟองโซ เปเรซ – 8
- ผู้ที่ได้รับใบแดงมากที่สุด: ไฆเม เกซาดา – 7
- ผู้เล่นคนแรกของทีมที่ลงเล่นให้กับทีมชาติสเปน: ซิมอน เลกูเอ – 1934
- ผู้เล่นของทีมที่ลงเล่นให้ทีมชาติสเปนมากที่สุด: ราฟาเอล ฆอร์ดิลโล – 75
- จำนวนนักเตะของทีมที่ลงเล่นให้ทีมชาติสเปน: 27
อ้างอิง
แก้- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-01. สืบค้นเมื่อ 2013-03-18.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ "New features for Benito Villamarín Stadium". www.realbetisbalompie.es (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-04. สืบค้นเมื่อ 2017-06-29.
- ↑ Jones, Rich (2019-02-09). "We ranked the top 10 stadium in La Liga - with a surprise No.1". mirror. สืบค้นเมื่อ 2020-01-25.
- ↑ "PLANTILLA" (ภาษาสเปน). realbetisbalompie.es. สืบค้นเมื่อ 25 October 2018.
- ↑ Siesta azulgrana (Azulgrana nap); Marca, 29 March 2008 (ในภาษาสเปน)
- ↑ 6.0 6.1 6.2 6.3 José Ramón Esnaola; Manquepierda, 25 July 2018 (ในภาษาสเปน)
แหล้งข้อมูลอื่น
แก้- Official website (สเปน)
- Futbolme team profile (สเปน)
- เรอัลเบติส ที่เฟซบุ๊ก