พ็อทซ์ดัม
พ็อทซ์ดัม (เยอรมัน: Potsdam, ออกเสียง: [ˈpɔt͡sdam] ( ฟังเสียง)) เป็นเมืองหลวงของรัฐบรันเดินบวร์คทางด้านตะวันออกของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่บนแม่น้ำฮาเฟิล (Havel) 26 กม. ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเบอร์ลิน และเป็นส่วนหนึ่งของเขตนครเบอร์ลิน มีประชากรประมาณ 154,606 คน
พ็อทซ์ดัม | |
---|---|
จากบนและซ้ายไปขวา: พระราชวังเมืองพ็อทซ์ดัมที่มีฉากหลังเป็นโบสถ์นักบุญนิโคลัส พระราชวังซ็องซูซี, พระราชวังใหม่, ย่านชาวดัตช์ และสตูดิโอภาพยนตร์บาเบิลส์เบร์ก | |
พิกัด: 52°24′N 13°4′E / 52.400°N 13.067°E | |
ประเทศ | เยอรมนี |
รัฐ | บรันเดินบวร์ค |
อำเภอ | นครนอกอำเภอ |
ก่อตั้ง | ค.ศ. 1776 |
การปกครอง | |
• นายกเทศมนตรี (2018-26) | Mike Schubert[1] (SPD) |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 187.28 ตร.กม. (72.31 ตร.ไมล์) |
ความสูง | 32 เมตร (105 ฟุต) |
ประชากร (2020-12-31)[2] | |
• ทั้งหมด | 182,112 คน |
• ความหนาแน่น | 970 คน/ตร.กม. (2,500 คน/ตร.ไมล์) |
เขตเวลา | UTC+01:00 (CET) |
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | UTC+02:00 (CEST) |
รหัสไปรษณีย์ | 14467–14482 |
รหัสโทรศัพท์ | 0331 |
ทะเบียนพาหนะ | P |
เว็บไซต์ | www.potsdam.de |
พ็อทซ์ดัมเป็นที่รู้จักจากการเป็นที่ประทับของกษัตริย์ปรัสเซียหลายพระองค์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1918 ส่วนตัวเมืองประกอบไปทะเลสาบเชื่อมต่อกันเป็นจำนวนมาก และมีภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ โดยเฉพาะสวนและพระราชวังพระราชวังซ็องซูซี; (Sanssouci ไกลกังวล) ซึ่งเป็นพื้นที่มรดกโลกที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเยอรมนี
ศัพทมูลวิทยา
แก้ทฤษฎีทั่วไประบุว่า คำว่า "Potsdam" มีที่มาจากภาษากลุ่มสลาโวนิกตะวันตกเก่าที่หมายถึง "ใต้ต้นโอ๊ก"[3] อย่างไรก็ตาม มีบางส่วนตั้งคำถามเกี่ยวกับทฤษฎีนี้[4]
ประชากร
แก้พ็อทซ์ดัมเป็นหนึ่งในเมืองที่เติบโตเร็วที่สุดในประเทศเยอรมนีนับตั้งแต่ ค.ศ. 2000[5]
-
การพัฒนาของประชากรตั้งแต่ ค.ศ. 1875 ในบริเวณเส้นชายแดนปัจจุบัน (น้ำเงิน: ประชากร; เส้นจุด: เทียบกับการพัฒนาประชากรในรัฐบรันเดินบวร์ค; ฉากหลังเทา: สมัยนาซี; ฉากหลังแดง: สมัยคอมมิวนิสต์)
-
การพัฒนาและการทำนายประชากรในช่วงล่าสุด (ก่อนสำมะโน ค.ศ. 2011 (สีน้ำเงิน); การพัฒนาประชากรล่าสุดตามสำมะโนในประเทศเยอรมนีใน ค.ศ. 2011 (เส้นน้ำเงิน); การทำนายจากทางการใน ค.ศ. 2005–2030 (เส้นเหลือง); ใน ค.ศ. 2017–2030 (เส้นแดงสด); ใน ค.ศ. 2020–2030 (เส้นเขียว)
|
|
|
เมืองพี่น้อง
แก้พ็อทซ์ดัมเป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:[7]
สถานที่น่าสนใจ
แก้-
พระราชวังซ็องซูซี
-
นอยส์ปาเลส์
-
พระราชวังสวนส้ม
-
พระราชวังชาร์ลอตเตนโฮฟ
-
บ้านทรงจีนในพ็อทซ์ดัม
-
สะพานกลีนิเคอ
-
มหาวิทยาลัยพ็อทซ์ดัม ณ นอยส์ปาเลส์
-
ศาลาว่าการเมืองหลังเก่า
-
มาร์มอร์ปาเลส์
-
หอไอน์สไตน์ในพ็อทซ์ดัม
-
ประตูบรันเดินบวร์คของพ็อทซ์ดัม
-
โบสถ์ฟอร์ทูนาพอร์ทัลและนิโคไลเคียร์เคอ ณ อัลแทร์มาคต์
อ้างอิง
แก้- ↑ Ergebnis der Bürgermeisterwahl in Potsdam เก็บถาวร 2022-08-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, accessed 30 June 2021.
- ↑ "Bevölkerung im Land Brandenburg nach amtsfreien Gemeinden, Ämtern und Gemeinden 31. Dezember 2020". Amt für Statistik Berlin-Brandenburg (ภาษาเยอรมัน). June 2021.
- ↑ "993 – From Poztupimi to the Royal Seat". potsdam.de. 1 December 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-08. สืบค้นเมื่อ 2021-12-24.
- ↑ August Kopish, "Die Königlichen Schlösser u. Gärten zu Potsdam", Berlin, 1854, p. 18 (Google Books)
- ↑ Zuwachs in Potsdam und kein Ende in Sicht[ลิงก์เสีย]
- ↑ Detailed data sources are to be found in the Wikimedia Commons.Population Projection Brandenburg at Wikimedia Commons
- ↑ "Die Partnerstädte der Landeshauptstadt Potsdam". potsdam.de (ภาษาเยอรมัน). Potsdam. สืบค้นเมื่อ 2021-03-11.
ข้อมูล
แก้- Paul Sigel, Silke Dähmlow, Frank Seehausen und Lucas Elmenhorst, Architekturführer Potsdam Architectural Guide, Dietrich Reimer Verlag, Berlin 2006, ISBN 3-496-01325-7.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- เว็บไซต์ทางการ (ในภาษาเยอรมัน) และ ภาษาอังกฤษ
- Extensive photoarchive about Potsdam