ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาฏยศัพท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tanbiruzzaman (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 49.237.6.86 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Peachyo
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว SWViewer [1.6]
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 4 คน)
บรรทัด 1:
'''นาฏยศัพท์''' หมายถึง ศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับลักษณะท่ารำ ที่ใช้ในการฝึกหัดเพื่อแสดง[[โขน]] [[ละคร]] เป็นคำที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์ไทย สามารถสื่อความหมายกันได้ทุกฝ่ายในการแสดงต่าง ๆ<ref>[http://www.banramthai.com/html/character.html ลักษณะการรำไทย]</ref> "นาฏย" หมายถึง เกี่ยวกับการฟ้อนรำ เกี่ยวกับการแสดงละคร "ศัพท์" หมายถึง เสียง คำ คำยากที่ต้องแปล เรื่อง เมื่อนำคำสองคำมารวมกัน ทำให้ได้ความหมายขึ้นมา
โย่วววววววววว ครัวคุณเกียยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยย
 
การศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทย ไม่ว่าจะเป็นการแสดงโขน ละคร หรือระบำเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ก็ดี ท่าทางที่ผู้แสดงแสดงออกมานั้นย่อมมีความหมายเฉพาะ ยิ่งหากได้ศึกษาอย่างดีแล้ว อาจทำให้เข้าใจในเรื่องการแสดงมากยิ่งขึ้นทั้งในตัวผู้แสดงเอง และผู้ที่ชมการแสดงนั้น ๆ สิ่งที่เข้ามาประกอบเป็นท่าทางนาฏศิลป์ไทยนั้นก็คือ เรื่องของนาฏยศัพท์ ซึ่งแยกออกได้เป็นคำว่า "นาฏย" กับคำว่า "ศัพท์" ดังนี้
== ประเภทของนาฏยศัพท์<ref>{{Cite web |url=http://www.nsru.ac.th/oldnsru/webelearning/dance/standard.html |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2008-06-03 |archive-date=2008-05-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20080521040829/http://www.nsru.ac.th/oldnsru/webelearning/dance/standard.html |url-status=dead }}</ref> ==
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ